Page 79 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 79

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        70







                                      (4) หนํวยที่ดินที่ 50C  สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด  มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 339
                       ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.03 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (5) หนํวยที่ดินที่ 50I1 มีการระบายน้ําดี และพื้นที่มีศักยภาพในการใช๎น้ําเพื่อ
                       การเกษตร มีพื้นที่ 300 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.02 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                                  29)   หนํวยที่ดินที่ 51C 51CI1 51D และ 51E
                                      เป็นหนํวยที่ดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชํน ภาคใต๎ ภาคตะวันออก เกิดจากการ
                       สลายตัวผุพังแล๎วถูกเคลื่อนย๎ายมาทับถมในระยะทางไมํไกลนักของวัสดุเนื้อหยาบหรือคํอนข๎าง
                       ละเอียดที่มาจากพวกหินตะกอน หรือหินแปร พบบริเวณพื้นที่ดอนที่เป็นเนินเขา หรือบริเวณที่ลาด

                       เชิงเขา เป็นดินตื้น มีการระบายน้ําดี เนื้อดินเป็นดินรํวนปนเศษหิน สํวนใหญํเป็นพวกเศษหินทราย
                       และควอร์ต หรือหินดินดาน สีดินเป็นสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 51C  สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด  มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 7,989
                       ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.60 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 51CI1 สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด  มีการระบายน้ําดี พื้นที่มี
                       ศักยภาพในการใช๎น้ําเพื่อการเกษตร มีพื้นที่ 506 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.04 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 51D สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดชัน  มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 3,318 ไรํ

                       หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.25 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (4) หนํวยที่ดินที่ 51E  สภาพพื้นที่เป็นเนินเขา มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 242 ไรํ หรือ
                       คิดเป็นร๎อยละ 0.02 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  30)   หนํวยที่ดินที่ 53C
                                      เป็นหนํวยที่ดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชํน ภาคใต๎ ภาคตะวันออก เกิดจากการ

                       สลายตัวผุพังอยูํกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎วถูฏเคลื่อนย๎ายมาทับถมในระยะทางไมํไกลนักของ
                       วัสดุเนื้อละเอียดที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินแปร สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด เป็นดินลึก
                       ปานกลาง เนื้อดินบนเป็นดินรํวนหรือดินรํวนปนดินเหนียว สํวนดินลํางในระดับความลึกระหวําง 50-

                       100 เซนติเมตร เป็นดินลูกรังหรือดินปนเศษหินผุ ซึ่งเป็นพวกหินดินดาน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด
                       มากถึงกรดจัด การระบายน้ําดี ความอุดมสมบูรณ์ต่ํา มีพื้นที่ 901 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.07 ของ
                       เนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  31)   หนํวยที่ดินที่ 55B

                                      เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูํกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎ว
                       ถูกเคลื่อนย๎ายมาทับถมในระยะทางไมํไกลนักของวัตถุต๎นกําเนิดดินที่มาจากวัสดุเนื้อละเอียดที่มีปูน
                       ปน สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย เป็นดินลึกปานกลาง เนื้อดินบนเป็นดินเหนียว สีดินเป็นสี
                       น้ําตาลหรือแดง ในดินชั้นลํางระดับความลึกต่ํา 50 เซนติเมตรลงไปจะพบหินผุ ซึ่งสํวนใหญํเป็นหิน

                       ตะกอนเนื้อละเอียด บางแหํงมีก๎อนปูนปะปนอยูํด๎วย สีดินเป็นสีน้ําตาลหรือสีแดงเกิดจากวัสดุต๎น
                       กําเนิด ดินพวกหินตะกอนเนื้อละเอียดที่มีปูนปน ปฏิกิริยาดินเป็นกลางหรือเป็นดําง การระบายน้ําดี
                       ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง มีพื้นที่ 15,321 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 1.15 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84