Page 58 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 58

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        49







                               สถาพร (2545) ทําการศึกษาเรื่อง การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกมัน
                       สําปะหลังด๎วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร๎างฐานข๎อมูลความเหมาะสม
                       ของพื้นที่สําหรับปลูกมันสําปะหลังจังหวัดขอนแกํน ฐานข๎อมูลความเหมาะสมเป็นผลมาจากการ
                       วิเคราะห์ประมวลผลหรือประเมินคุณภาพที่ดิน (land evaluation) ตามแนวทางขององค์การอาหาร

                       และเกษตรแหํงสหประชาชาติ (1976) สําหรับปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่จังหวัดขอนแกํน
                       ผลการศึกษา พบวํา จังหวัดขอนแกํนมีพื้นที่เหมาะสมกับการปลูกมันสําปะหลังในระดับเหมาะสม
                       เล็กน๎อยมากที่สุดในกลุํม  มีเนื้อที่ประมาณ 2.3 ล๎านไรํ (ร๎อยละ 34.22) ของเนื้อที่จังหวัด
                       ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถนําไปใช๎สนับสนุนการเลือกพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังของจังหวัดขอนแกํน

                       นอกจากนี้ยังสามารถนําข๎อมูลอื่นๆ เข๎ามาวิเคราะห์รํวมเพื่อสนับสนุนการสร๎างแผนการใช๎ที่ดินระดับ
                       จังหวัด
                               ปัญญา (2555) รายงานการประเมินความเหมาะสมของที่ดินทางกายภาพ สําหรับปลูก
                       มันสําปะหลัง และอ๎อยภายในพื้นที่ขยายผลของศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ๎อนอันเนื่องมาจาก

                       พระราชดําริ โดยอาศัยหลักการของ FAO  (1983) และคูํมือประเมินคุณภาพที่ดินของบัณฑิต และ
                       คํารณ (2542) ใช๎วิธีการจับคูํเพื่อประเมินความเหมาะสมระหวํางความต๎องการของประเภทการใช๎
                       ประโยชน์ที่ดินกับคุณภาพที่ดินโดยใช๎วิธีการประเมินจากกลุํมคุณลักษณะที่มีข๎อจํากัดรุนแรงที่สุด

                       (most limiting group of land characteristics)
                               ธัญลักษณ์ และกัลยา (2555) รายงานการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามหลักการ
                       ของ FAO (1983) ในการประเมินพื้นที่ความเหมาะสมสําหรับการปลูกข๎าวในจังหวัดลพบุรี โดยศึกษา
                       เฉพาะข๎อมูลทางกายภาพ คือ ข๎อมูลปัจจัยความต๎องการการใช๎ที่ดิน (land  use  requirement)
                       ปัจจัยที่นํามาศึกษา  ประกอบด๎วยความลึกของดิน การระเหยน้ําของดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                       ความสามารถในการดูดยึดธาตุอาหารของดิน ความลาดชัน อุณหภูมิ ปริมานน้ําฝน และเนื้อดิน
                               วัลลภา และคณะ (2556) รายงานผลการวิเคราะห์พื้นที่เหมาะสมเพื่อการอนุรักษ์พันธุ์ข๎าวสังข์
                       หยดในจังหวัดพัทลุง โดยใช๎วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินของ FAO  (1983) โดยกําหนดปัจจัยทาง

                       กายภาพที่ศึกษา ได๎แกํ ความลาดชันของพื้นที่ การระบายน้ําของดิน ความอุดมสมบูรณ์ของธาตุ
                       อาหารในดิน คําปฎิกิริยาดิน ลักษณะเนื้อดิน ความลึกของดิน และคําปริมาณเกลือในดิน
                       การวิเคราะห์เชิงพื้นที่พบวําพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตํอการปลูกข๎าวสังข์หยดสํวนใหญํอยูํในเขตอําเภอ
                       เมือง ควนขนุน เขาชัยสน บางแก๎ว และปากพะยูน

                               วาสนา และปรีดา (2558) ศึกษาการประเมินศักยภาพและข๎อจํากัดเชิงพื้นที่ในการผลิต
                       กระเทียมของเกษตรกรบ๎านหมอกจําแป๋และสะงา อําเภอเมือง จังหวัดแมํฮํองสอน โดยใช๎ระบบ
                       สารสนเทศภูมิศาสตร์รํวมกับการประเมินศักยภาพของพื้นที่ตามความเหมาะสมของที่ดิน โดยอาศัย
                       กรอบการประเมินคุณภาพที่ดินของ FAO  ได๎ผลการศึกษาคือ พื้นที่ปลูกกระเทียมบ๎านหมอกจําแป๋

                       มีความเหมาะสมน๎อย (S3) คิดเป็นร๎อยละ 74.03 และไมํมีความเหมาะสม (N) คิดเป็นร๎อยละ 25.97
                       สําหรับพื้นที่ปลูกกระเทียมบ๎านสะงามีความเหมาะสมน๎อย (S3) คิดเป็นร๎อยละ 11.92 และไมํมีความ
                       เหมาะสม (N) คิดเป็นร๎อยละ 87.51
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63