Page 61 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 61

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        52







                                                             บทที่ 4
                                                           ผลการศึกษา



                              จากการศึกษาการประเมินความเหมาะสมของที่ดินด๎านกายภาพสําหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อ
                       วางแผนการใช๎ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุํมน้ําวิกฤต ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ มีรายละเอียดดังนี้

                       4.1  การประเมินความเหมาะสมด้านกายภาพ
                              4.1.1 ทรัพยากรที่ดิน
                                  1) สภาพปัญหาของทรัพยากรที่ดินในปัจจุบัน
                                    จากการศึกษาถึงสถานภาพของทรัพยากรที่ดินในปัจจุบันพบวํา ในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์

                       มีทรัพยากรที่ดินที่มีความแตกตํางกันและมีความหลากหลาย ในแตํละพื้นที่ขึ้นอยูํกับลักษณะ
                       การกํอกําเนิดดินที่แตกตํางกันเป็นหลัก ซึ่งในที่นี้สามารถสรุปสภาพปัญหาตามลักษณะพื้นที่ โดยแยก
                       เป็นพื้นที่ดอนและพื้นที่ลุํม (ตารางที่ 6 และภาพที่ 11) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
                                    (1) ดินกรดในที่ลุํม มีเนื้อที่ 64,835 ไรํ หรือร๎อยละ 4.85 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                       พบในสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบหรือคํอนข๎างราบเรียบ มีน้ําแชํขังในชํวงฤดูฝน เป็นดินลึก ที่มีการ
                       ระบายน้ําคํอนข๎างเลวถึงเลว เนื้อดินบนเป็นดินเหนียวถึงดินเหนียวปนทรายแปูง หรือดินรํวนปนทราย
                       เนื้อดินลํางเป็นดินเหนียวถึงดินเหนียวปนทรายแปูง หรือดินรํวนเหนียวปนทรายพบชั้นดินเหนียวสีเทาที่มี
                       จุดประสีเหลืองของสารจาโรไซต์ในระดับความลึกประมาณ 100-150 เซนติเมตร มีศิลาแลงอํอนหรือ

                       ก๎อนสารเคมีสะสมพวกเหล็ก แมงกานีสปะปนอยูํด๎วย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ําถึงปาน
                       กลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดจัดมาก พบเล็กน๎อยบริเวณพื้นที่อําเภอวังจันทร์ และอําเภอแกลง
                       จังหวัดระยอง

                                    (2) ดินกรดในที่ดอน มีเนื้อที่ 544,138 ไรํ หรือร๎อยละ 40.73 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                       พบในสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบหรือคํอนข๎างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน การระบายน้ําดีถึงดี
                       ปานกลาง เนื้อดินบนเป็นดินรํวนเหนียวถึงดินเหนียว บางแหํงเป็นดินรํวนเหนียวปนทรายแปูงหรือดิน
                       รํวนเหนียวปนทราย หรือดินรํวนปนทราย เนื้อดินลํางเป็นดินรํวนเหนียวถึงดินเหนียวปนกรวดมาก
                       บางแหํงเป็นดินรํวนเหนียวทรายแปูง หรือดินรํวนปนทราย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ํา

                       ถึงปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด พบกระจายทั่วทั้งลุํมน้ําสาขา
                                  (3) ดินเค็มชายทะเล มีเนื้อที่ 14,704 ไรํ หรือร๎อยละ 1.10 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขาพบ
                       ในสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบหรือคํอนข๎างราบเรียบบริเวณที่ราบน้ําทะเลทํวมถึง เป็นดินลึกที่มีการ

                       ระบายน้ําเลวถึงเลวมาก เนื้อดินบนและดินลํางเป็นดินเหนียวถึงดินเหนียวปนทรายแปูง ดินมีความ
                       อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง เป็นดินที่มีสารประกอบกํามะถันมาก ตามปกติเมื่อดิน
                       เปียกปฏิกิริยาดินจะเป็นกลางหรือเป็นดํางจัด แตํเมื่อมีการระบายน้ําออกไปหรือทําให๎ดินแห๎ง
                       ปฏิกิริยาดินจะลดลงจนเป็นกรดรุนแรงมาก เนื่องจากเป็นดินเค็มที่มีกรดแฝงอยูํ พบบริเวณตอนลําง

                       ของลุํมน้ําสาขาในพื้นที่อําเภอแกลง จังหวัดระยอง
                                  (4) ดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ก๎อนกรวด หรือเศษหินในที่ดอน มีเนื้อที่ 228,302 ไรํ หรือร๎อยละ
                       17.09 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา พบในสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบหรือคํอนข๎างราบเรียบถึงเนินเขา ดินตื้น
                       การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เนื้อดินบนเป็นดินรํวนปนดินเหนียวปนกรวด บางแหํงเป็นดินรํวนปนทรายปนกรวด
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66