Page 57 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 57

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        48







                       3.5  ความต้องการของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน (land-use requirement)
                               ในแตํละประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินไมํวําจะเป็นพืชเดี่ยวหรือหลายพืชก็มีความต๎องการ
                       ปัจจัยและสิ่งแวดล๎อมแตกตํางกัน ความต๎องการปัจจัยที่ผลตํอการเจริญเติบโตและการให๎ผลผลิตของ
                       พืชนั้น สามารถเรียกวํา “ความต๎องการด๎านพืช” (crop  requirement) ขณะเดียวกันสําหรับตัว

                       เกษตรกรเองนั้น จะต๎องพิจารณาถึงความต๎องการด๎านเครื่องจักร เครื่องกล สารเคมี แรงงานและ
                       เทคโนโลยี เงินทุน ความต๎องการทางด๎านนี้เรียกวํา “ความต๎องการด๎านการจัดการ” (management
                       requirements) นอกจากนี้ยังมีความต๎องการอื่นอีกด๎านหนึ่งเพื่อสามารถใช๎ที่ดินได๎ตลอดไปโดยไมํ
                       ทําลายคุณภาพของที่ดินเองหรือทําลายสิ่งแวดล๎อมอื่นๆ อันเนื่องมาจากประเภทการใช๎ที่ดินนั้นๆ ใน

                       แตํละทางเลือกการใช๎ประโยชน์ที่ดิน ความต๎องการทางด๎านนี้เรียกวํา “ความต๎องการด๎านการ
                       อนุรักษ์” (conservation requirements)


                       3.6  การจ าแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (land suitability classification)
                               จากหลักการของ FAO Framework (1983) ได๎จําแนกอันดับความเหมาะสมของ
                       ที่ดินเป็น 2 อันดับ (order) คือ
                               3.6.1   อันดับที่เหมาะสม (order S, suitability)

                               3.6.2   อันดับที่ไมํเหมาะสม (order N, not suitability)
                                   และจาก 2 กลุํมที่ได๎แบํงยํอยออกเป็น 4 ชั้น (class) ดังนี้
                                   1) S1 หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (highly suitable)

                                   2) S2 หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (moderately suitable)
                                   3) S3 หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (marginally suitable )
                                   4) N  หมายถึง ชั้นที่ไมํมีความเหมาะสม (not suitable)
                               นอกจากนี้ในแตํละชั้นความเหมาะสมยังแบํงออกเป็นชั้นยํอย (subclass) ซึ่งเป็นข๎อจํากัด
                       ของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลตํอการเจริญเติบโตของพืช สําหรับในประเทศไทยได๎กําหนดข๎อจํากัด

                       ที่เหมาะสมไว๎ 13 ชนิด ดังที่กลําวมาแล๎วในข๎อ 3.4.2
                               ชั้นความเหมาะสมทั้ง 4 ชั้น สามารถกําหนดโดยพิจารณาเปรียบเทียบกับผลผลิต โดยใช๎ฐานดังนี้
                               S1 =  80-100% optimum yield,  S2 =  40-80% optimum yield

                               S3 =  20-40% optimum yield,   N  =  น๎อยกวํา 20 % optimum yield
                               โดย optimum yield หมายถึง ระดับผลผลิตสูงสุดที่ได๎จากการผลิตในสภาพที่มีสมบัติทางดิน
                       ลักษณะภูมิอากาศ พันธุ์พืช และการจัดการที่เหมาะสม


                       3.7  งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพที่ดิน
                               วลัยพร (2543) รายงานวําจากการจําแนกความเหมาะสมของพื้นที่สําหรับการปลูกส๎มโอ
                       พันธุ์ขาวแตงกวา ในพื้นที่จังหวัดชัยนาท โดยใช๎กรอบแนวคิดในการประเมินคุณภาพที่ดิน สําหรับการ

                       ทําการเกษตรในเขตน้ําฝนของ FAO (1983) เป็นหลัก โดยพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมาก กระจาย
                       อยูํริมฝั่งแมํน้ําสายหลักเจ๎าพระยา ทําจีน และแมํน้ําน๎อย มีเนื้อที่ 16,688 ไรํ หรือร๎อยละ 1.08 ของ
                       พื้นที่จังหวัด
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62