Page 53 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 53

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        44







                                     ความลึกของดินจะมีสํวนสัมพันธ์กับความลึกของระบบรากพืชในการหยั่งเพื่อหา
                       อาหารและยึดลําต๎น ดินที่มีความลึกรากโอกาสที่รากจะเจริญเติบโตก็เป็นไปได๎งําย นอกจากนี้ระดับ
                       น้ําจากใต๎ดินจะเป็นตัวควบคุมการเจริญเติบโตของรากพืชด๎วย ถ๎าระบบน้ําใต๎ดินตื้น โอกาสที่รากพืช
                       จะเจริญเติบโตไปสูํเบื้องลํางก็เป็นไปได๎ยากเพราะดินข๎างลํางจะขาดออกชิเจน

                                     ชั้นมาตรฐาน              ความลึกของดิน (เซนติเมตร)
                                     (1) ตื้นมาก                    < 25
                                     (2) ตื้น                       25-50
                                     (3) ลึกปานกลาง                 50-100

                                     (4) ลึก                        100-150
                                     (5) ลึกมาก                     > 150
                                     ความยากงํายตํอการหยั่งลึกของรากในดิน มีปัจจัยที่เกี่ยวข๎องได๎แกํ ลักษณะเนื้อ
                       ดินโครงสร๎าง การเกาะตัวของดิน (consistence) และปริมาณกรวดหรือเศษหินที่พบในหน๎าตัดดินคํา

                       root penetration สามารถจําแนกได๎เป็น 4 ชั้น ตามตารางภาคผนวกที่ 3
                                   8) ความเสียหายจากน้ําทํวม (flood hazard)
                                     คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทนได๎แกํ จํานวนครั้งที่น้ําทํวมในชํวงรอบปีที่กําหนดไว๎

                       หมายถึง พืชได๎รับความเสียหายจากการที่น้ําทํวมบนดินชั่วระยะเวลาหนึ่งหรือเป็นน้ําที่มีการไหล
                       บํา การที่น้ําทํวมขังจะทําให๎ดินขาดออกชิเจน สํวนน้ําไหลบําจะทําให๎รากพืชได๎รับความ
                       กระทบกระเทือนหรือรากอาจหลุดพ๎นผิวดินขึ้นมาได๎ ความเสียหายจากน้ําทํวมไมํใชํจะเกิดกับพืช
                       เทํานั้น แตํยังทําความเสียหายให๎กับดินและโครงสร๎างพื้นฐานตํางๆ ที่เกี่ยวข๎องกับการใช๎ที่ดิน
                                     ชั้นมาตรฐาน              ความถี่ของการเกิดน้ําทํวม

                                     (1) ต่ํา                       10 ปีขึ้นไป เกิด 1 ครั้ง
                                     (2) คํอนข๎างต่ํา               6-9 ปี เกิด 1 ครั้ง
                                     (3) ปานกลาง                    3-5 ปี เกิด 1 ครั้ง

                                     (4)  สูง                       1-2 ปี เกิด 1 ครั้ง
                                   9) การมีเกลือมากเกินไป (excess of salts)
                                     คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทนได๎แกํ ปริมาณเกลืออิสระที่สะสมมากเกินพอจนเป็น
                       อันตรายตํอการเจริญเติบโตของพืชมี exchangeable  Na  <  15 % หรือที่เรียกวํา salinity  จะมี

                       อิทธิพลที่ทําความเสียหายให๎กับพืชโดยขบวนการ osmosis  กลําวคือ ถ๎ามีเกลือสะสมในดินมาก
                       ปริมาณน้ําในรากพืชและต๎นพืชจะถูกดูดออกมาทําให๎ต๎นพืชขาดน้ํา ถ๎าความเค็มมีระดับสูงมากอาจทํา
                       ให๎พืชตายได๎ พืชแตํละชนิดจะมีความสามารถในการทนทานตํอปริมาณเกลือแตกตํางกันไป เชํน ฝูาย
                       มีความทนทาน สูงมากถึง 10-16 mmho/cm องุํน ข๎าว ข๎าวโพด ถั่วตํางๆ มะเขือเทศ มีความทนทาน

                       ปานกลาง ประมาณ 4-10 mmho/cm สําหรับส๎ม มะนาว อ๎อย มีความทนทานต่ํามาก ประมาณ 2-4
                       mmho/cm
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58