Page 56 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        47







                                   1) การประเมินจะมีคุณลักษณะเพียงตัวเดียว (single land characteristic) จะเลือก
                       ปัจจัยที่มีระดับความสําคัญที่สุดเพียงตัวเดียวมาประเมิน
                                     ข๎อดี  งําย
                                     ข๎อเสีย  (1) ไมํใชํตัวแทนของคุณภาพที่ดินที่แท๎จริง

                                             (2) ถ๎าข๎อมูลมีความเชื่อถือต่ํากวําจะให๎ผลลัพธ์จากการประเมินผิดพลาดมาก
                                             (3) อาจมีปัจจัยอื่นที่มีอิทธิพลตํอการเจริญเติบโตของพืชแตํไมํได๎นํามาใช๎
                       ในการประเมิน
                                   2) การประเมินจากกลุํมคุณลักษณะที่ดินมีข๎อจํากัดรุนแรงที่สุด (most limiting

                       group of land characteristics)
                                     ข๎อดี  มีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตและผลผลิตโดยตรง
                                     ข๎อเสีย  (1) การประเมินเริ่มซับซ๎อนมากขึ้น
                                             (2) ความรุนแรงของข๎อจํากัดอาจมีผลรํวมจากปัจจัยอื่นที่มิได๎นําสูํการประเมิน

                                   3) การประเมินจากการคํานวณทางคณิตศาสตร์ของคุณลักษณะที่ดิน (empirical
                       combination of land characteristics)
                                     ข๎อดี  (1) คุณลักษณะที่ดินทุกตัวมีโอกาสชํวยในการประเมิน

                                             (2) คําที่ได๎จากการประเมินสามารถแสดงความสัมพันธ์เชิงศักยภาพการใช๎
                       ประโยชน์ที่ดิน
                                     ข๎อเสีย  (1) ผลจากการคํานวณทางคณิตศาสตร์ไมํใชํตัวเลขที่บํงชี้ถึงผลผลิตโดยตรง
                                             (2) คําวิกฤต (critical value) และจุดเฝือ (surplus) จะมีความหมาย
                       เหมือนตัวเลขธรรมดา ทําให๎ผลผลิตผิดพลาด

                                             (3) การคํานวณยุํงยากมากขึ้น
                                   4) การประเมินโดยแบบจําลอง (modelling)
                                     ข๎อดี  (1) ผลจากการประเมินจะใกล๎เคียงกับสภาพความจริงโดยธรรมชาติมากยิ่งขึ้น

                                             (2) ข๎อมูลหลายๆด๎านสามารถนํามาสูํขบวนการประเมิน
                                             (3) คําวิกฤต (critical value) และจุดเฝือ (surplus) จะเป็นไปตามธรรมชาติ
                                             (4) สะดวก รวดเร็ว และสามารถพัฒนาให๎มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดย
                       อาศัยระบบสมองกล

                                     ข๎อเสีย  (1) การสร๎างแบบจําลอง (modelling) ใช๎ข๎อมูลมากและทําได๎ยากต๎องใช๎
                       เวลาและผู๎เชี่ยวชาญหลายด๎าน
                                             (2) ข๎อมูลที่นํามาใช๎ในแบบจําลองจะต๎องมีรูปแบบเทําที่กําหนดไว๎เทํานั้น
                       จะต๎องมีการเปลี่ยน data เป็น information กํอนทุกๆขั้นตอน

                                             (3) ข๎อกําหนดของอุปกรณ์เครื่องสมองกลยังขาดแคลนในระบบราชการ
                       และผู๎ใช๎จําเป็นต๎องมีความรู๎ด๎านคอมพิวเตอร์ ดิน พืชเศรษฐกิจมากพอที่จะตรวจสอบความถูกต๎อง
                       ของผลลัพธ์ได๎
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61