Page 134 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 134

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       112







                       ตารางที่ 21: การจําแนกชั้นความเหมาะสมสําหรับพืชเศรษฐกิจหลักในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ปี 2550

                                                          พืชเศรษฐกิจหลัก (% ของพื้นที่ทั้งหมด)
                       ชั้นความเหมาะสม
                                            ยางพารา      ทุเรียน    ปาล์มน้ํามัน  เฉลี่ยพืชยืนต๎น   สับปะรด
                       เหมาะสมมาก               -           -            -             -           0.45

                       เหมาะสมปานกลาง         27.77       8.16        35.84          23.92        70.41
                       เหมาะสมน๎อย            6.72          -          6.75          4.49          7.72
                       ไมํเหมาะสม             65.51       91.84       57.41          71.59        21.42
                       พื้นที่ทั้งหมด = 1,336,093 ไรํ

                                        พื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับปลูกสับปะรดลดลงจากร๎อยละ 78.58 ใน พ.ศ. 2550

                       เป็นร๎อยละ 70.65 ในปี 2559 (ตารางที่ 22) อาจเป็นผลมาจากการลดคุณภาพของดินตลอดเวลาใน
                       แงํของความอุดมสมบูรณ์ของดินที่ลดลง ทั้งนี้ พบวํา พื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากสําหรับสับปะรด
                       มีสัดสํวนเพิ่มขึ้น อาจเป็นไปได๎วําเกษตรกรเจ๎าของพื้นที่มีการจัดการเพิ่มมากขึ้น เชํน เพิ่มปัจจัยการ
                       ผลิต หรือจัดการพื้นที่ให๎เหมาะสมตํอการปลูกพืช ทําให๎สภาพพื้นที่และคุณสมบัติของที่ดินเหมาะสมขึ้น

                       ตารางที่ 22: การจําแนกชั้นความเหมาะสมสําหรับพืชเศรษฐกิจหลักในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ปี 2559

                                                           พืชเศรษฐกิจหลัก (% ของพื้นที่ทั้งหมด)
                       ชั้นความเหมาะสม
                                            ยางพารา      ทุเรียน    ปาล์มน้ํามัน  เฉลี่ยพืชยืนต๎น   สับปะรด
                       เหมาะสมมาก             0.70        1.06           -           0.58          6.84
                       เหมาะสมปานกลาง         48.06       27.23       29.70          35.00         58.59

                       เหมาะสมน๎อย            25.96       2.52        26.71          18.40         5.22
                       ไมํเหมาะสม             25.28       69.19       43.58          46.02         29.35
                       พื้นที่ทั้งหมด = 1,336,093 ไรํ

                                        การลดลงของคุณภาพที่ดินในบริเวณพื้นที่ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ อาจเป็น

                       เพราะเกษตรกรสํวนใหญํปลูกพืชรายปี เชํนมันสําปะหลังและอ๎อย เป็นเวลาหลายปีกํอนที่จะ
                       เปลี่ยนเป็นพืชยืนต๎น แม๎วําพืชเหลํานี้จะได๎รับการปรับตัวให๎เข๎ากับสภาวะที่ไมํพึงปรารถนา แตํก็ต๎อง
                       ใช๎สารอาหารในปริมาณสูงและทําให๎สารอาหารในดินลดลงอยํางรวดเร็ว (Hendy et al., 1995) การ
                       ใช๎ที่ดินในพื้นที่ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ในปี 2553 จะเห็นวํา พืชหลักที่เกษตรกรปลูก คือ

                       มันสําปะหลัง ซึ่งมีงานวิจัยหรือการศึกษาด๎านทรัพยากรและสิ่งแวดล๎อมจํานวนมาก ที่กลําววํา
                       การปลูกมันสําปะหลัง จะมีผลในเรื่องของการกัดเซาะดิน แม๎แตํปลูกในพื้นที่ลาดชันไมํมากนัก
                       โดยเฉพาะอยํางยิ่งในดินทราย และจากการสอบถามจากเกษตรกรบางรายที่เปลี่ยนจากมันสําปะหลัง
                       ไปปลูกยางพารา พบวํามีการสูญเสียดินชั้นบนของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง มีความยาวเกินกวํา 30 ซม.

                       ซึ่งสํงผลตํอคุณภาพดิน
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139