Page 136 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 136

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       114







                                  4.3.2 ปัจจัยด๎านเศรษฐกิจและสังคม
                                        จากการรวบรวมข๎อมูลทุติยภูมิ พบวํา ปัจจัยด๎านเศรษฐกิฐและสังคม ที่มีผลตํอ
                       การเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดิน ได๎แกํ
                                             (1) ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

                                             (2) ขนาดที่ดิน
                                             (3) การเข๎าถึงตลาด
                                             (4) การชลประทาน หรือแหลํงน้ํา
                                             (5) การเข๎าถึงแหลํงเงินทุนหรือสินเชื่อ

                                             (6) การถือครองที่ดิน
                                             (7) ทรัพยากรในครัวเรือน เชํน จํานวนสมาชิก แรงงานในภาคการเกษตร
                                             (8) การบริการจากหนํวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

                                  การศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลตํอการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดิน โดยเฉพาะปัจัยจัยทาง
                       กายภาพ เศรษฐกิจและสังคม เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับการตัดสินใจในการใช๎ที่ดินของเกษตรกร

                       จะชํวยให๎เข๎าใจถึงลักษณะและความต๎องการของเกษตรกร และเป็นเครื่องมือที่ชํวยสนับสนุนการวาง
                       แผนการใช๎ที่ดิน เป็นข๎อมูลที่สําคัญสําหรับผู๎บริหารในการกําหนดนโยบาย

                       4.4  ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                                ประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดิน หมายถึง ชนิดหรือระบบการใช๎ที่ดิน ที่กลําวถึงสภาพการ
                       ผลิต เทคนิคในการดําเนินการในการใช๎ที่ดิน ทั้งด๎านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม ได๎แกํ ชนิดพืชที่
                       ปลูก เงินทุน แรงงาน เครื่องจักร ลักษณะการถือครองที่ดิน การจัดการ ผลผลิต เป็นต๎น ซึ่งจากการ

                       สํารวจข๎อมูลการผลิตในปีการผลิต 2559/2560 โดยสํวนเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร กองนโยบาย
                       และแผนการใช๎ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ประกอบกับการสํารวจข๎อมูลภาคสนามในลุํมน้ําสาขาแมํน้ํา
                       ประแสร์ มีประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินหลักๆ (ตารางที่ 23) ดังนี้
                                          4.4.1  ยางพารา
                                                  เกษตรกรขุดหลุมปลูก โดยขุดดินขึ้นมาแบํงเป็นดินบน และดินลําง ผึ่งแดด

                       ประมาณ 10 วันเพื่อให๎ดินแห๎ง นําดินบนใสํก๎นหลุมกํอน สํวนดินลํางให๎ผสมกับปุ๋ยฟอสเฟต (0-3-0)
                       อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลํงปลูกยางใหมํควรใสํปุ๋ยอินทรีย์ต๎นละ 5 กิโลกรัม รองก๎นหลุมรํวมกับ
                       ปุ๋ยหินฟอสเฟต แล๎วกลบหลุม ขนาดของหลุม 50x50x50 เซนติเมตรในการปลูกใช๎พันธุ์ RRIM  600

                       ลักษณะเดํน ปรับตัว และให๎ผลผลิตดีเกือบทุกพื้นที่ ทนทานตํอการกรีดถี่ได๎มากกวําพันธุ์อื่น สําหรับ
                       การใช๎ปุ๋ยในสวนยาง จําเป็นต๎องใสํปุ๋ยบํารุงให๎ต๎นยางอยํางถูกต๎องและเหมาะสม เพื่อให๎เพียงพอกับ
                       ความต๎องการของต๎นยางในการสร๎างความเจริญเติบโตและการให๎ผลผลิตสูง โดยยางพารากํอนเปิด
                       กรีดใช๎ปุ๋ยเคมีสูตร 20-8-20 หรือ 20-10-12 สํวนยางพาราหลังเปิดกรีดใช๎ปุ๋ยเคมีสูตร 30-5-18 ใสํปุ๋ย

                       ครั้งละ 500 กรัมตํอต๎น ปีละ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกใสํต๎นฤดูฝนประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม
                       และครั้งที่ 2 ใสํประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน กํอนที่ใบยางจะแกํ ผลผลิตเนื้อยาง 10 ปี
                       กรีดเฉลี่ย 289 กิโลกรัมตํอไรํตํอปี
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141