Page 138 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 138

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       116







                                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) ครอบคุลมพื้นที่ 346,855 ไรํ หรือร๎อยละ
                       25.96ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ข๎อจํากัดบางหนํวยที่ดิน ประกอบด๎วย สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)
                       ความเสียหายจากการกัดกรํอน (e) และศักยภาพการใช๎เครื่องจักร (w)
                                        จากผลการวิเคราะห์ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับยางพารา (ตารางที่ 25)

                       พบวํา พื้นที่ที่เหมาะสมกับยางพาราในเขตลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ จะพบมากบริเวณ อ. แกลง และ
                       อ.วังจันทร์ จังหวัดระยอง (ภาพที่ 24) โดยกระจายอยูํบริเวณด๎านตะวันออกของพื้นที่ลุํมน้ําฯ ซึ่งดิน
                       สํวนใหญํเป็นกลุํมชุดดินที่เอื้อตํอการปลูกไม๎ยืนต๎น เนื่องจากเนื้อดินสํวนใหญํเป็นดินรํวน มีการระบาย
                       น้ําดี และมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง เชํน กลุํมชุดดินที่ 26, 32, 34, 39 เป็นต๎น ทั้งนี้ หากมีการ

                       จัดการพื้นที่เพิ่มขึ้นและสามารถจัดการน้ําเพื่อการเกษตรได๎ ที่ดินจะมีความเหมาะสมในการปลูก
                       ยางพารามากยิ่งขึ้น
                                      2) ปาล์มน้ํามัน
                                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ครอบคุลมพื้นที่ 396,847 ไรํ หรือร๎อยละ

                       29.70ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ข๎อจํากัดบางหนํวยที่ดิน ประกอบด๎วย ปริมาณสารพิษในดิน (z)
                       ความชุํมชื้นที่เป็นประโยชน์ตํอพืช (m) และความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)
                                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กน๎อย (S3) ครอบคุลมพื้นที่ 356,924 ไรํ หรือร๎อยละ

                       26.71 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ข๎อจํากัดบางหนํวยที่ดิน ประกอบด๎วย สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)
                       ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนตํอรากพืช (o) ปริมาณสารพิษในดิน (z) ความชุํมชื้นที่เป็นประโยชน์
                       ตํอพืช (m) และความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)
                                      จากการวิเคราะห์ชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปาล์มน้ํามัน พบวํา
                       ความเหมาะสมของที่ดินสํวนใหญํจะอยูํบริเวณทางตอนใต๎ของพื้นที่ลุํมน้ํา (ภาพที่ 25) คือบริเวณ

                       อําเภอแกลง จังหวัดระยอง ทั้งนี้ เนื่องมาจากสภาพภูมิอากาศ เชํน ปริมาณน้ําฝน ซึ่งในสํวนลํางของ
                       ลุํมน้ําฯ มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยมากกวํา 1,500 มิลลิเมตร เป็นผลให๎ปาล์มน้ํามัน ซึ่งเป็นพืชที่มีความ
                       ต๎องการปริมาณน้ําสูงในการเจริญเติบโตและให๎ผลผลิต ปรากฏความเหมาะสมสํวนใหญํพบใน

                       ตอนลํางของพื้นที่ลุํมน้ําฯ

                       ตารางที่ 24: เนื้อที่ชั้นความเหมาะสมสําหรับพืชเศรษฐกิจหลักในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์

                                                                 ยางพารา                   ปาล์มน้ํามัน
                       ชั้นความเหมาะสม
                                                             ไรํ         ร๎อยละ         ไรํ        ร๎อยละ
                       เหมาะสมมาก (S1)                      9,388         0.70          -             -
                       เหมาะสมปานกลาง (S2)                 642,093       48.06       396,847       29.70
                       เหมาะสมน๎อย (S3)                    346,855       25.96       356,924       26.71
                       ไมํเหมาะสม (N)                      337,757       25.28       582,323       43.58

                       พื้นที่ทั้งหมด = 1,336,093 ไรํ
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143