Page 137 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 137

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       115







                                          4.4.2 ปาล์มน้ํามัน
                                                  เกษตรกรเตรียมพื้นที่ในฤดูแล๎ง ควรปรับพื้นที่ให๎เรียบกําจัดวัชพืชและตอไม๎
                       การวางแนวปลูกให๎สอดคล๎องกับความลาดเทของพื้นที่และการระบายน้ํา โดยกําหนดให๎แถวปลูกหลัก
                       อยูํในทิศเหนือ-ใต๎ ระบบการปลูกปาล์มน้ํามันที่นิยมคือ ปลูกแบบสามเหลี่ยมด๎านเทํา ระยะปลูกที่ใช๎

                       คือ 9x9 เมตร  จํานวน 22 ต๎นตํอไรํ ชํวงเวลาในการปลูกปาล์มน้ํามันที่เหมาะสมคือในชํวงฤดูฝน พันธุ์ที่ปลูก
                       ได๎แกํ สุราษฎร์ธานี 1 และสุราษฎร์ธานี 2 ปลูกในหลุมโดยขุดหลุมขนาด กว๎างxยาวxลึก (45x45x35
                       เซนติเมตร) ใสํปุ๋ยหินฟอสเฟตรองก๎นหลุม อัตราประมาณ 250 กรัมตํอหลุม การใสํปุ๋ยใช๎วิธีการใสํปุ๋ยเคมี
                       ตามผลการวิเคราะห์ใบปาล์มน้ํามัน การสังเกตอาการขาดธาตุอาหารของพืชการเจริญเติบโต และข๎อมูล

                       การวิเคราะห์ดินเพื่อประกอบการพิจารณาใสํปุ๋ยตํอไปปุ๋ยเคมีที่ใช๎ ได๎แกํ ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
                       (21-0-0) ปุ๋ยทริบเปิลซูเปอร์ฟอสเฟต (0-46-0) ปุ๋ยร็อคฟอสเฟต (0-3-0) ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์
                       (0-0-60) ปุ๋ยคีเซอร์ไรท์ และปุ๋ยโบเรท เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อปาล์มน้ํามันอายุประมาณ 1.8-2 ปี
                       โดยใช๎แรงงานคน


                       ตารางที่ 23 ประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์


                           ประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดิน            พันธุ์          ชํวงปลูก     ชํวงเก็บเกี่ยว
                       ยางพารา                                 RRIM 600              -             -


                       ปาล์มน้ํามัน                         สุราษฏร์ธานี 1,2         -             -


                       4.5  การประเมินความเหมาะสมของที่ดิน

                                จากการประเมินความเหมาะสมของที่ดิน เพื่อนําไปสนับสนุนการวางแผนการใช๎ที่ดินของ
                       ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ สามารถสรุปรายละเอียดของข๎อจํากัดได๎ดังตํอไปนี้
                                4.5.1 ผลการประเมินชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจหลัก
                                       บริเวณลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ พบวํามีประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินหลักๆ

                       2 ประเภท ได๎แกํ ยางพารา และปาล์มน้ํามัน จากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับ
                       ประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินดังกลําว สามารถสรุปชั้นความเหมาะสมของที่ดินพร๎อมทั้งเนื้อที่และ
                       ข๎อจํากัดสําหรับการใช๎ประโยชน์ที่ดินใน มีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 24 และภาพที่ 24-25)
                                      1) ยางพารา

                                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ครอบคุลมพื้นที่ 9,388 ไรํ หรือร๎อยละ 0.70 ของ
                       เนื้อที่ลุํมน้ําสาขา โดยไมํมีข๎อจํากัดในการเพาะปลูก
                                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ครอบคุลมพื้นที่ 642,093 ไรํ หรือร๎อยละ

                       48.06 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ข๎อจํากัดบางหนํวยที่ดิน ประกอบด๎วย สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)
                       ความเสียหายจากการกัดกรํอน (e) ศักยภาพการใช๎เครื่องจักร (w) ปริมาณสารพิษในดิน (z)
                       ความชุํมชื้นที่เป็นประโยชน์ตํอพืช (m) และความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142