Page 130 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 130

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       108







                                  จากตารางที่ 19 แสดงการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินซึ่งมีลักษณะเดํนใน พ.ศ. 2553
                       เป็นการใช๎ที่ดินลักษณะเดํนใน พ.ศ. 2559 พื้นที่โดยสํวนใหญํจะมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นพื้นที่ปลูก
                       ยางพารา ทั้งนี้อาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากราคาตลาดยางพารามีแนวโน๎มเพิ่มขึ้นทุกปีในอดีตที่ผํานมา
                       อีกทั้งนโยบายรัฐบาลที่สนับสนุนให๎เพิ่มพื้นที่ปลูกยางพารา ตั้งแตํปี 2542 โดยมีการสนับสนุนปัจจัย

                       การผลิต และสํงเสริมให๎ความรู๎แกํเกษตรกรในเรื่องการทําสวนยางพารา ทําให๎ลุํมน้ําสาขาแมํน้ํา
                       ประแสร์มีพื้นที่การปลูกยางพาราเพิ่มขึ้นจากพื้นที่เดิมในปี 2553


                       4.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน

                                  เป็นที่ทราบกันดีอยูํแล๎ววําการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินเป็นผลมาจากการมีปฏิสัมพันธ์ที่
                       ซับซ๎อนของปัจจัยทางด๎านกายภาพและด๎านเศรษฐกิจสังคม แตํจากการศึกษาของ Angelsen  and
                       Kaimowitz, 1999 และ Braimoh and Vlek, 2004 พบวํา ลักษณะของครัวเรือนมีผลตํอพฤติกรรม
                       ของการใช๎ประโยชน์ที่ดินใน สมาชิกในครัวเรือนมีเปูาหมายและภาวะเศรษฐกิจที่แตกตํางกันซึ่งจะ

                       สะท๎อนถึงการตัดสินใจในการใช๎ที่ดิน ดังนั้น จึงควรทําการศึกษา วิเคราะห์ปัจจัยแรงขับเคลื่อนที่จะ
                       ทําให๎เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดิน โดยมุํงเน๎นไปที่ปัจจัยทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมในระดับ
                       ครัวเรือนในพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินเกิดขึ้น เพื่อเป็นข๎อมูลที่ที่ชํวยในการวางแผน
                       หรือกําหนดนโยบายในการใช๎ที่ดินให๎เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพตํอไป

                                  จากการวิเคราะห์ข๎อมูลเชิงพื้นที่ของลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ รวมทั้งข๎อมูลจากการ
                       สํารวจภาคสนาม ได๎มีการสอบถามเกษตรกรในพื้นที่เพื่อเป็นข๎อมูลเบื้องต๎นประกอบการศึกษา
                       ประเภทการที่ดิน เพื่อนํามากําหนดและประเมินความเหมาะสมหรือคุณภาพที่ดิน พบวําในลุํมน้ํา
                       สาขาแมํน้ําประแสร์ มีการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินจากพื้นที่ปุาไม๎มาเป็นการใช๎ที่ดินเพื่อการ

                       เกษตรกรรม จากการสอบถามเกษตรกรและสังเกตในภาคสนาม พบวํา ในพื้นที่เกษตรกรรม ครัวเรือน
                       เกษตรกรทั่วไป จะมีรูปแบบการทําการเกษตรอยูํ 3 รูปแบบ คือ ปลูกพืชหลักถ๎าไมํเป็น
                       ไม๎ยืนต๎น ก็จะเลือกปลูกพืชล๎มลุกหรือพืชรายปี หรือบางสํวนจะปลูกทั้งพืชยืนต๎นและพืชล๎มลุกอยูํใน

                       พื้นที่เดียวกัน ซึ่งจะเห็นได๎ในพื้นที่ปุาที่เพิ่งผํานการถางปุา หรือบนพื้นที่ปลูกยางพาราที่สิ้นสุดอายุการ
                       กรีดยางแล๎ว เนื่องจากในพื้นที่ปุาที่มีการถางเพื่อทําการเกษตรด๎วยพืชรายปีหรือพืชอายุสั้นอยํางเดียว
                       เกษตรกรกลัววําจะถูกขับไลํออกจากพื้นที่ถือเป็นการบุกรุกพื้นที่ปุา จึงเลือกปลูกยางพาราเข๎าไปใน
                       พื้นที่ทําเกษตรพืชรายปีด๎วย เนื่องจากเกษตรกรรู๎สึกปลอดภัยมากขึ้นในการใช๎ประโยชน์ที่ดิน
                       หรืออาจมีการปลูกพืชรายปี เชํน ข๎าวโพด เข๎าไปทดแทนต๎นยางพาราที่ไมํสามารถให๎ผลผลิตได๎ตาม

                       ต๎องการแล๎ว มีการปลูกข๎าวโพดยางอีกครั้งเป็นเวลาหลายปี ดังนั้นการวิเคราะห์ปัจจัยผลักดันที่มีตํอ
                       การเปลี่ยนแปลงการใช๎ประโยชน์ที่ดินจึงเน๎นพืชตามรูปแบบการใช๎ประโยชน์ที่ดินเป็นหลัก
                                  จากข๎อมูล นารีลักษณ์ วรรณไสย (2553) ศึกษาปัจจัยที่มีผลตํอการตัดสินใจ

                       เปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ พบวํา ปัจจัยที่สํงผลตํอการเปลี่ยนแปลงการใช๎
                       ที่ดิน (ตารางที่ 20) ของเกษตรกรในพื้นที่ลุํมน้ําฯ 5 ปัจจัย ได๎แกํ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
                       ทรัพยากรและปัจจัยการผลิต การถือครองที่ดิน คุณภาพที่ดิน และการบริการจากภาครัฐหรือ
                       หนํวยงานที่เกี่ยวข๎อง
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135