Page 131 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 131

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       109







                       ตารางที่ 20: ปัจจัยพื้นฐานในการตัดสินในเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดิน

                                                     ผลตอบ   ปัจจัย และ   การถือ   คุณภาพ    การบริการ    รวม
                                                     แทนทาง    แหลํงผลิต   ครอง      ที่ดิน   จากภาครัฐ
                        การเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดิน
                                                     เศรษฐกิจ              ที่ดิน               และ
                                                                                            หนํวยงานอื่น

                        เปลี่ยนพื้นที่ปุาเพื่อปลูกพืชรายปี   25.0   -      75.0       -         -         100
                        เปลี่ยนพื้นที่ปุาเพื่อปลูกพืชยืนต๎น   41.2   11.7   41.2      -        5.9        100
                        เปลี่ยนพืชรายปีเป็นพืชยืนต๎น   52.2      17.0      17.6      8.8       4.4        100
                        เปลี่ยนพื้นที่เพื่อปลูกผสม    51.1       18.4      26.5      2.0       2.0        100
                        เปลี่ยนพืชยืนต๎นเป็นพืชรายปี   60.0      40.0        -        -         -         100
                        เปลี่ยนพื้นที่เพื่อปลูกผสม    66.7       33.3        -        -         -         100
                        พืชรายปี (ไมํเปลี่ยนแปลง)     35.2       61.0        1.9     1.9        -         100
                        พืชยืนต๎น (ไมํเปลี่ยนแปลง)    64.0       26.0      10.0       -         -         100

                       ที่มา:  นารีลักษณ์ วรรณไสย (2553)

                                  จากตาราง จะเห็นวํา เกษตรกร ประมาณร๎อยละ 50 พิจารณาผลตอบแทนทาง
                       เศรษฐกิจ เชํนรายได๎สูงและผลตอบแทนสุทธิจากการเกษตรเป็นเหตุผลหลักในการเปลี่ยนแปลงการใช๎

                       ที่ดินของตนจากพืชรายปีเป็นพืชยืนต๎นหรือเปลี่ยนพื้นที่เป็นการปลูกผสม และในทํานองเดียวกัน
                       ประมาณร๎อยละ 60 ของเกษตรกรเปลี่ยนพืชยืนต๎นเป็นพืชรายปี หรือปลูกพืชรายปีแซมไปในพื้นที่
                       ปลูกพืชยืนต๎นในชํวงที่เริ่มปลูกพืชยืนต๎นหรือยังไมํได๎ผลผลิต เนื่องจากคํานึงผลตอบแทนทางเศรฐกิจ

                       เป็นหลัก ถึงแม๎วําจะมีปัจจัยอื่นๆอีกหลายประการที่สํงผลกระทบตํอผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
                       เชํน มีการผลิตที่สูงขึ้น หรือมีการลงทุนต่ํา แตํเกษตรกรยังมั่นใจวําจะสามารถทํากําไรจากการปลูกพืช
                       ยืนต๎น สํวนใหญํเกษตรกรในพื้นที่จะทําการปลูกพืชยืนต๎นคือ ยางพาราและปาล์มน้ํามัน
                                  ทรัพยากรและปัจจัยการผลิต เป็นอีกเหตุผลที่สําคัญในการตัดสินใจเปลี่ยนแปลงการใช๎
                       ที่ดิน ทรัพยากรการผลิต รวมไปถึงขนาดการถือครองที่ดิน เอกสารสิทธิ์ และปัจจัยการผลิต

                       เชํน แหลํงน้ํา ชลประทาน ปุ๋ย แรงงาน ความรู๎การลงทุน และความพร๎อมในตลาด เป็นต๎น โดยจาก
                       ข๎อมูลการสอบถามเกษตรกรในพื้นที่ พบวํา  เกษตรกรที่มีที่ดินขนาดเล็กต๎องการปลูกพืชรายปี
                       เนื่องจากสามารถหารายได๎จากการลงทุนได๎เร็วขึ้น โดยสํวนใหญํจะปลูกผักเป็นพืชเชิงเดี่ยว

                       หรือทําเกษตรแบบผสมผสานโดยแบํงที่ดินไว๎ปลูกข๎าวเพื่อบริโภคในครัวเรือน และทําแปลงผักหรือ
                       มันสําปะหลังเพื่อเป็นรายได๎เข๎าครัวเรือน
                                  ความมั่นคงในการถือครองที่ดินถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สําคัญในการอธิบายถึงการ
                       เปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินจากพื้นที่ปุาสูํการทําการเกษตร จากข๎อมูลในตาราง พบวํา เกษตรกรร๎อยละ

                       75.0 และ 41.2 มีความต๎องการที่ดิน และเป็นสาเหตุสําคัญของการแปลงพื้นที่ปุาเป็นการปลูกพืชราย
                       ปีและไม๎ยืนต๎น ตามลําดับ โดยทั่วไปกรณีที่เจ๎าของที่ดินที่ไมํมีเอกสารสิทธิ์จะทําการปลูกพืชยืนต๎น
                       เพื่อเรียกร๎องสิทธิในที่ดินทํากิน ในบางกรณีการได๎มาซึ่งที่ดินทํากินจากการรุกล้ําพื้นที่ปุา จะทําให๎มี
                       การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปุาเพิ่มมากขึ้นเมื่อมีการขายที่ดินหลังจากได๎รับกรรมสิทธิ์ที่ดินแล๎ว
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136