Page 132 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 132

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       110







                                  คุณภาพดิน เชํนความชุํมชื้นที่เป็นประโยชน์ตํอพืช (moisture  availability) ความ
                       อุดมสมบูรณ์ของดิน (soil fertility) และความต๎านทานตํอการพังทลายของดิน (erosion resistance) มีผล
                       ตํอความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชหรือเลือกพืชที่จะเพาะปลูก และระดับการจัดการที่จําเป็น
                       สําหรับการผลิต ด๎านคุณภาพที่ดินผู๎ถือครองที่ดินเห็นวํารูปแบบการกระจายน้ําฝนที่เปลี่ยนไปซึ่ง

                       แปรปรวนมากขึ้นในปัจจุบันเทียบกับอดีตเป็นผลมาจากการแปลงสภาพปุาอยํางมาก ในทํานองเดียวกัน
                       ดินในบริเวณนี้เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ําและมีแนวโน๎มที่จะเกิดการกัดเซาะ เกษตรกรมีแนวโน๎มที่
                       จะเปลี่ยนจากพืชประจําปีเป็นพืชยืนต๎นเพื่ออนุรักษ์ดินโดยการลดการสูญเสียดิน
                                  การสนับสนุนจากภาครัฐ และหนํวยงานที่เกี่ยวข๎อง เชํนบริการเงินอุดหนุนและการฝึกอบรมให๎

                       ความรู๎ในด๎านการเกษตรและการจัดการ มีผลกระทบมากตํอการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดิน ตัวอยํางเชํน
                       เกษตรกรผู๎ปลูกยางพาราหรือทําสวนผลไม๎เริ่มเรียนรู๎จากเพื่อนเกษตรกรหรือญาติพี่น๎องมากกวําจากสถาบัน
                       ของรัฐบาล
                                  4.3.1 ปัจจัยด๎านกายภาพ

                                        คุณภาพของที่ดินและปัจจัยด๎านสิ่งแวดล๎อมสามารถกําหนดรูปแบบการใช๎ที่ดินและมี
                       อิทธิพลตํอการตัดสินใจในการจัดสรรที่ดิน (Geist & Lambin, 2001; Verberg et al., 2004) เกษตรกรอาจ
                       พิจารณาความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชเฉพาะ หรือระดับความเสื่อมโทรมของที่ดินอาจเป็นพื้นฐานในการ

                       ตัดสินใจในการใช๎ที่ดิน เชํนในกรณีศึกษาลุํมน้ํา Volta ของประเทศกานา (Braimoh & Vlek, 2004)
                                        การวิเคราะห์ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชรายปี และพืชยืนต๎น ในลุํมน้ําสาขา
                       แมํน้ําประแสร์ เพื่อสังเกตวําการเปลี่ยนแปลงคุณภาพที่ดิน มีผลตํอการเปลี่ยนแปลงการใช๎ประโยชน์ที่ดิน
                       หรือไมํ โดยการเปรียบเทียบจากการประเมินคุณภาพที่ดินในระยะเวลา 2 ชํวงปี (2550 และ 2559)โดยนําข๎อมูล
                       ดิน และข๎อมูลภูมิอากาศ ของทั้ง 2 ชํวงเวลามาเป็นปัจจัยหลักที่ใช๎ในการวิเคราะห์และจําแนกความเหมาะสม

                       ของพื้นที่ตามความต๎องการใช๎ประโยชน์ที่ดินสําหรับแตํละพืช ได๎แกํ ยางพารา ปาล์มน้ํามัน สับปะรด และ
                       ทุเรียน ดังแสดงในภาพที่ 22
                                        การวิเคราะห์ได๎ดําเนินการสําหรับพืชหลัก 4 ชนิดในพื้นที่ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์

                       ได๎แกํ ยางพารา ทุเรียน ปาล์มน้ํามัน และสับปะรด การประเมินความเหมาะสมสําหรับสับปะรด
                       เพื่อให๎สอดคล๎องกับรูปแบบการเปลี่ยนแปลงการใช๎ที่ดินที่สําคัญในพื้นที่ เชํน มีการเปลี่ยนแปลงการ
                       ใช๎ที่ดินจากพืชยืนต๎นไปเป็นพืชรายปี หรือพืชที่อายุสั้นกวํา
                                        การจําแนกความเหมาะสมของพืชแตํละชนิดในปี พ.ศ. 2550 แสดงให๎เห็นวําร๎อยละ

                       28.41 ของพื้นที่เหมาะสมสําหรับไม๎ยืนต๎น (ตารางที่ 21) พบความเหมาะสมปานกลางอยูํที่ร๎อยละ 23.92
                       ในขณะที่สับปะรด พบวํา มีความเหมาะสมปานกลางถึงร๎อยละ 70.41 อยํางไรก็ตามพืชยืนต๎นแตํละชนิดมี
                       ระดับความเหมาะสมที่แตกตํางกัน ปาล์มน้ํามัน ยางพารา และทุเรียน พบวํา มีชํวงสัดสํวนของความ
                       เหมาะสมสูง (8.16-35.84) เนื่องจาก ความต๎องการด๎านสิ่งแวดล๎อมของพืชที่เฉพาะเจาะจง เชํนปริมาณ

                       น้ําฝนและคุณสมบัติของดิน (ภาคผนวก 1-3) ในทางตรงกันข๎ามความต๎องการด๎านสิ่งแวดล๎อมสําหรับพืช
                       รายปีหรืออายุที่สั้นกวํา (ภาคผนวก 4-6) เชํน สับปะรด มันสําปะหลัง และอ๎อย สามารถปรับให๎เข๎ากับ
                       สภาพแวดล๎อมที่ไมํพึงประสงค์ เชํนปริมาณน้ําฝนต่ํา และความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ํา เป็นผลให๎ร๎อยละ
                       78.58 ของพื้นที่ทั้งหมดเหมาะสําหรับปลูกสับปะรด สําหรับพื้นที่ไมํเหมาะสม จะรวมไปถึงพื้นที่ที่เป็น

                       ที่ลาดชันสูง พื้นที่น้ํา และชุมชุนเขตเมืองและสิ่งกํอสร๎าง
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137