Page 29 - การจัดการปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตมะละกอฮอลแลนด์ในดินทราย
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
19
ปุ๋ยเคมีมีปริมาณไม่แตกต่างกันกับการใช้ปุ๋ยชีวภาพเท่ากับ 138.00 และ135.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
ตามล าดับ ส่วนการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียวปลดปล่อยไนโตรเจนต่ าที่สุด 121.00 มิลลิกรัมต่อ
กิโลกรัม นอกจากนี้ จากการเปรียบเทียบกิจกรรมจุลินทรีย์ดินที่ผลิตเอนไซม์ปลดปล่อยธาตุอาหาร
จากการใช้ปุ๋ยชีวภาพจะมีประสิทธิภาพการผลิตเอนไซม์ 29.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าการใช้ปุ๋ยหมัก
ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีผลิตเอนไซม์ 27.00 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ จากการทดลองนี้ หากปรับปรุง
บ ารุงดินจากการใช้ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยชีวภาพจะมีความเหมาะสมในการปลูกมะละกอในดินทราย ซึ่ง
จะช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุ ธาตุอาหารปรับปรุงบ ารุงดินได้ สอดคล้องกับการศึกษา Chang et al.
(2007) ทดสอบการใช้ปุ๋ยหมักชนิดต่างๆ ที่มีปริมาณไนโตรเจนเท่ากับการใส่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจน 43.20
กิโลกรัมต่อไร่ และเพิ่มปริมาณเป็น 2 3 และ 4 เท่า โดยใส่ทุกๆ ปี ระยะเวลา 3 ปี พร้อมกับการ
ปลูกผักชนิดต่างๆ 24 ฤดูปลูก ภายใต้สภาพโรงเรือน พบว่า การใช้ปุ๋ยหมักสามารถเพิ่มอินทรียวัตถุ
ในดินมากที่สุด อยู่ระหว่าง 3.14 – 5.30 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว และไม่
ใส่ปุ๋ยเคมีมีอินทรียวัตถุในดิน 2.66 และ 2.51 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ เพิ่มปริมาณฟอสฟอรัสอยู่
ระหว่าง 168 – 294 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และโพแทสเซียมอยู่ระหว่าง 141 – 613 มิลลิกรัมต่อ
กิโลกรัม ส่วนการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียวมีปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมเท่ากับ 167 และ
114 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ เปรียบเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีมีปริมาณฟอสฟอรัสและ
โพแทสเซียมต่ าที่สุด เท่ากับ 135 และ 74 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ
2.2 ปริมาณฟอสฟอรัสในดิน จากการทดลองพบว่า ปริมาณฟอสฟอรัสในดินมีความ
แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติจากการใช้ปุ๋ยหมัก ร่วมกับปุ๋ยเคมีครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า
(ต ารับที่ 8) มีปริมาณมากที่สุด ไม่แตกต่างกับการใช้ปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว (ต ารับที่ 4) และต ารับ
การใช้ปุ๋ยหมัก ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราแนะน า (ต ารับที่ 6) มีปริมาณฟอสฟอรัสในดินเพิ่มขึ้นเท่ากับ
2,001 1,996 และ 1,943 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ ปริมาณสูงกว่าการใช้ปุ๋ยชีวภาพเพียง
อย่างเดียว หรือใส่ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราตามค าแนะน า หรือใส่ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตาม
ค าแนะน า (ต ารับที่ 3 5 และ 7) มีปริมาณฟอสฟอรัสในดินเพิ่มขึ้นอยู่ระหว่าง 322 – 659 มิลลิกรัม
ต่อกิโลกรัม และการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว (ต ารับที่ 2) ส่วนการไม่ใส่ปัจจัยใดๆ (ต ารับที่ 1) มี
ปริมาณฟอสฟอรัสในดินเท่ากับ 140 และ 24 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ ดังตารางที่ 1
2.3 ปริมาณโพแทสเซียมในดิน จากการทดลองพบว่า ปริมาณโพแทสเซียมในดินมีความ
แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติทุกต ารับการทดลองที่มีการใช้ปุ๋ยหมัก ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตรา
แนะน า (ต ารับที่ 6) มีปริมาณโพแทสเซียมในดินสูงสุด 296 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แต่ไม่แตกต่างกัน
เมื่อเปรียบเทียบกับต ารับที่ใส่ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า (ต ารับที่ 8) และปุ๋ยหมัก
เพียงอย่างเดียว (ต ารับที่ 4) มีปริมาณ 251 และ 235 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ ปริมาณไม่
แตกต่างจากต ารับที่ใช้ปุ๋ยชีวภาพเพียงอย่างเดียว หรือใส่ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราแนะน า หรือใส่ปุ๋ยเคมี