Page 31 - การจัดการปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตมะละกอฮอลแลนด์ในดินทราย
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       21


                       ต่อกิโลกรัม  ไม่แตกต่างกันกับการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว (ต ารับที่ 2)  และไม่ใส่ปัจจัยใดๆ (ต ารับที่
                       1)  มีปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้เท่ากับ 858 และ 1,049 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ  ดัง
                       ตารางที่ 1
                              2.5 ปริมาณแมกนีเซียมในดิน จากการทดลองพบว่า  ปริมาณแมกนีเซียมในดินมีความ

                       แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติการใช้ปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว (ต ารับที่ 4)  มีปริมาณ
                       แมกนีเซียมในดิน 690 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  มากกว่าต ารับที่มีการใส่ปุ๋ยหมัก  ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี
                       อัตราตามค าแนะน า (ต ารับที่ 6)  และใส่ปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า (ต ารับที่ 8) มีปริมาณ
                       แมกนีเซียมในดิน 574 และ 656 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามล าดับ  สูงกว่าต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยชีวภาพ

                       เพียงอย่างเดียว  ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราตามค าแนะน า  หรือใส่ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตาม
                       ค าแนะน า (ต ารับที่ 3  5  และ 7)  มีปริมาณแมกนีเซียมในดินอยู่ระหว่าง 276 – 432 มิลลิกรัมต่อ
                       กิโลกรัม  ไม่แตกต่างกันกับการใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว (ต ารับที่ 2)  และไม่ใส่ปัจจัยใดๆ (ต ารับ 1)
                       มีปริมาณแมกนีเซียมในดินเท่ากับ 273 และ 344 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ดังตารางที่ 1

                              ส าหรับปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมในดินหลังการทดลอง  จากการทดลองเนื่องมาจาก
                       ปุ๋ยหมักมาจากวัสดุอินทรีย์ที่มีส่วนประกอบเป็นธาตุอาหารรองได้แก่  แคลเซียม  และแมกนีเซียม
                       โดยมีอัตราการใช้ปุ๋ยหมักเท่ากับ 20 กิโลกรัมต่อต้น  และต ารับที่ใช้ปุ๋ยชีวภาพจะมีอัตราการใช้

                       5 กิโลกรัมต่อต้น  ดังนั้น  หลังการทดลองจึงมีปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมที่มาจากปุ๋ยหมักเป็น
                       ส่วนใหญ่  โดยสมบัติของวัสดุท าปุ๋ยหมักจะมีธาตุอาหารรองปลดปล่อยออกมาใช้ในการเจริญเติบโต
                       และผลิตมะละกอได้  อีกทั้ง  ดินในพื้นที่ทดลองทั่วไปนั้นมีปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียมสะสมใน
                       ดินในปริมาณที่แตกต่างกัน  สามารถแลกเปลี่ยนกลับไปกลับมาในดินได้  โดยที่พืชน าไปใช้ประโยชน์
                       ในการเจริญเติบโตของพืชได้ (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา,  2548)  ซึ่งความสมดุลของแมกนีเซียม

                       และแคลเซียม     จะก าหนดเป็นสัดส่วนที่พืชสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการเจริญเติบโต  หรือ
                       อัตราส่วนระหว่างแคลเซียมและแมกนีเซียมมีอัตราส่วนที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 2 : 7 (Simson et al.,
                       1979)  แต่จากการศึกษาของ Hailes et al. (1997) ภายใต้สภาพดินทราย  พบว่า  อัตราส่วนที่กว้าง

                       ของแคลเซียมและแมกนีเซียมไม่มีผลต่อผลผลิตพืช
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36