Page 27 - การจัดการปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตมะละกอฮอลแลนด์ในดินทราย
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
17
ผลการทดลองและวิจารณ์
จากการศึกษาการจัดการปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพร่วมกับน้ าหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิต
มะละกอฮอลแลนด์ในดินทราย ผลปรากฏดังนี้
1. สมบัติของปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ในการทดลอง
1.1 การวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของปุ๋ยหมัก มีความเป็นกรดเป็นด่าง 7.30 อัตราส่วน
คาร์บอนต่อไนโตรเจน เท่ากับ 15 ปริมาณอินทรียวัตถุ 31.60 เปอร์เซ็นต์ ไนโตรเจน 1.20
เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัส 3.00 เปอร์เซ็นต์ และโพแทสเซียม 0.60 เปอร์เซ็นต์ (ตารางภาคผนวกที่ 1)
ซึ่งปุ๋ยหมักที่น ามาวิจัยดังกล่าวผ่านมาตรฐานปัจจัยการผลิตทางการเกษตร พ.ศ. 2556 (กรมพัฒนา
ที่ดิน, 2556)
1.2 ปริมาณเชื อจุลินทรีย์จากการขยายเชื อปุ๋ยชีวภาพ พด.12 ผลการวิเคราะห์ปริมาณ
เชื้อจุลินทรีย์ 4 กลุ่มในปุ๋ยชีวภาพ พด.12 พบว่า แบคทีเรียตรึงไนโตรเจนแบบอิสระ มีปริมาณเชื้อ
5
5
1.5 x 10 เซลล์ต่อกรัม แบคทีเรียละลายฟอสเฟต 2.0 x 10 เซลล์ต่อกรัม แบคทีเรียละลาย
8
โพแทสเซียม 2.3 x 10 เซลล์ต่อกรัม และแบคทีเรียสร้างสารเสริมการเจริญเติบโตของพืชหรือ
4
ฮอร์โมน 1.5 x 10 เซลล์ต่อกรัม (ตารางภาคผนวกที่ 2)
1.3 ปริมาณความเข้มข้นของธาตุอาหาร ฮอร์โมน และกรดอะมิโนจากน ้าหมักชีวภาพ
ปลานิล จากการวิเคราะห์สมบัติทางเคมี พบว่า มีความเป็นกรดเป็นด่างเท่ากับ 4.49 มีปริมาณ
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมเท่ากับ 0.50 0.22 0.27 0.42 และ
0.06 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ (ดังตารางภาคผนวกที่ 3) จากการวิเคราะห์ฮอร์โมนออกซินมีปริมาณ
เท่ากับ 1.68 มิลลิกรัมต่อลิตร จะช่วยกระตุ้นการแบ่งเซลล์ เร่งการเกิดราก ควบคุมการขยายตัว
ของเซลล์ ควบคุมการเจริญของใบ ราก และล าต้น ส่งเสริมการออกดอก เปลี่ยนเพศดอก
ปริมาณจิบเบอเรลลินเท่ากับ 1.65 มิลลิกรัมต่อลิตร ช่วยกระตุ้นการยืดตัวของเซลล์พืชในทางยาว
เร่งการเกิดดอก กระตุ้นการงอกของเมล็ดและตาช่วยกระตุ้นการยืดตัวของเซลล์พืชในทางยาว เร่ง
การเกิดดอก กระตุ้นการงอกของเมล็ดและตา และไซโตไคนินมีปริมาณเท่ากับ 1.35 มิลลิกรัมต่อ
ลิตร ช่วยกระตุ้นการแบ่งเซลล์ล าต้นของพืช กระตุ้นการเจริญของตาข้างท าให้ตาข้างเจริญเป็นกิ่งได้
ช่วยเคลื่อนย้ายสารอาหารจากรากไปสู่ยอด รักษาระดับโปรตีน ป้องกันคลอโรฟิลล์ถูกท าลาย ท าให้
ใบเขียวนานร่วงหล่นช้า (สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2558) (ดังตาราง
ภาคผนวกที่ 4) นอกจากนี้ได้วัดปริมาณชนิดของกรดอะมิโนจากน้ าหมักชีวภาพ ซึ่งผลการวิเคราะห์
พบว่า มีไทโรซีนปริมาณมากที่สุดเท่ากับ 2.34 มิลลิกรัมต่อลิตร มีประโยชน์ของกรดอะมิโนชนิดนี้จะ
ช่วยเพิ่มความเข้มข้นของแคลเซียม โพแทสเซียม เหล็ก และทองแดง การเจริญเติบโตและ
การปิด – เปิดปากใบ (Garcia et al., 2011) รองลงมาเป็นวาลีน ไอโซลิวซีน เมตไทโอนีน ลูซีน
โปรลีน อะลานีน ไกลซีน และไลซีน มีปริมาณเท่ากับ 0.63 0.61 0.42 0.40 0.37 0.27 0.18 และ