Page 25 - การจัดการปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตมะละกอฮอลแลนด์ในดินทราย
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       15


                               2.7  การปลูกมะละกอ  ท าการปลูกต้นกล้ามะละกอที่อายุ 1 เดือน  โดยปลูก 2 ต้นต่อหลุม
                       เมื่อมะละกอเจริญเติบโตได้ 1 เดือน  จึงถอนแยกเหลือเพียง 1 ต้นต่อหลุม
                               2.8  การฉีดพ่นน้ าหมักชีวภาพจากปลานิล  ต ารับที่ 3 ถึงต ารับที่ 8 เจือจาง 1: 500 ฉีดน้ า
                       หมักชีวภาพที่อัตรา 250  ลิตรต่อไร่ (ปริมาณน้ าหมักชีวภาพที่ใช้ 0.5  ลิตร เจือจางน้ า 250  ลิตร)

                       เดือนที่ 1 ฉีดโคนต้น  และที่ช่วงอายุ 2 3 4 และ 5 เดือน  ฉีดที่ใบ
                               2.9  การป้องกันก าจัดศัตรูพืช
                                   2.9.1 การป้องกันโรคพืช  ฉีดสารเคมีป้องกันการระบาดของโรคไวรัสวงแหวน
                       มะละกออายุ 3 เดือน  และฉีดตามการระบาดของโรคจนถึงช่วงให้ผลผลิตหลัง 5 เดือน  ไปแล้ว

                                   2.9.2 การก าจัดวัชพืช  ในช่วง 1 เดือนแรกหลังจากปลูกมะละกอ  โดยใช้จอบถาก
                       หลังจากนั้นเมื่อมะละกออายุ 2 เดือน  ใช้จอบถากบริเวณโคนต้นมะละกอ  พร้อมพูนโคนและใช้
                       เครื่องตัดหญ้าร่วมด้วยในการก าจัดวัชพืช  จนถึงระยะที่มะละกอให้ผลผลิตแล้วจึงใช้วิธีการตัดหญ้า
                       เพียงอย่างเดียว

                            3. การเก็บข้อมูล
                               3.1  วิเคราะห์สมบัติทางเคมีของปุ๋ยหมัก  ได้แก่  ความเป็นกรดเป็นด่าง  สัดส่วนคาร์บอน
                       ต่อไนโตรเจน  อินทรียวัตถุ  ไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส  และโพแทสเซียม

                               3.2  วิเคราะห์ปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ปุ๋ยชีวภาพ  พด.12  แบคทีเรียตรึงไนโตรเจนแบบอิสระ
                       แบคทีเรียละลายฟอสเฟต  แบคทีเรียละลายโพแทสเซียม  และแบคทีเรียสร้างสารเสริมการ
                       เจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมน
                               3.3 วิเคราะห์สมบัติทางเคมีทางของน้ าหมักชีวภาพ
                                   3.3.1 ธาตุอาหาร  ได้แก่  ความเป็นกรดเป็นด่าง      ไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส

                       โพแทสเซียม  แคลเซียม  และแมกนีเซียม
                                   3.3.2 ฮอร์โมน  ได้แก่  ออกซิน  จิบเบลอเรลลิน และไซโตไคนิน
                                   3.3.3 กรดอะมิโน  ได้แก่  ไกลซีน (glycine)  อะลานีน (alanine)  โปรลีน (proline)

                       ไทโรซีน (Tyrosine)   วารีน (Valine)    เมตไทโอนีน (Methyonine)    ไอโซลิวซีน (Isoleucine)
                       ลูซีน (leucine)  และไลซีน (lysine)
                               3.4 การเก็บตัวอย่างดิน
                                   เก็บตัวอย่างดินก่อนการทดลอง  จ านวน 10 จุด  กระจายทั่วแปลงทดลอง  โดยเก็บที่

                       ระดับความลึก 0 – 15 เซนติเมตร  และหลังการทดลองที่ 12 เดือน  โดยเก็บตัวอย่างบริเวณโคนต้น
                       เก็บ 2 จุดต่อต้นทั้งหมด 4 ต้น ห่างจากต้น 30 เซนติเมตร  ในแต่ละต ารับการทดลองที่ระยะ 0 – 15
                       เซนติเมตร โดยน ามาวิเคราะห์หาสมบัติทางเคมีดิน  ได้แก่  ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM) ฟอสฟอรัสที่
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30