Page 30 - การจัดการปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตมะละกอฮอลแลนด์ในดินทราย
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       20


                       อัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า (ต ารับที่ 3  5  และ 7)  มีปริมาณโพแทสเซียมในดินอยู่ระหว่าง
                       132 – 189 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  สูงกว่าต ารับที่ใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว (ต ารับที่ 2)  มีปริมาณ
                       โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 126 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  และไม่ใส่ปัจจัยใดๆ (ต ารับที่ 1)  มีปริมาณ
                       โพแทสเซียมในดินต่ าที่สุด 104 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ดังตารางที่ 1

                              จากการทดลองจะเห็นได้ว่า  ธาตุอาหารหลักจากการใช้ปุ๋ยหมักอัตรา 20  กิโลกรัมต่อต้น
                       (ต ารับที่ 4 6 และ 8) ในดินทรายช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุ  ฟอสฟอรัส  และโพแทสเซียม  เพิ่มความอุดม
                       สมบูรณ์ในดินทรายได้  สอดคล้องกับการทดลองของ Weber et al. (2007)  พบว่า  การใช้ปุ๋ยหมักที่
                       อัตรา 11.00  ตันต่อไร่  อินทรียวัตถุสามารถปรับปรุงดินทรายให้มีความอุดมสมบูรณ์  เพิ่มปริมาณ

                       ฟอสฟอรัส  และโพแทสเซียมสูงที่สุดมากกว่าต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมัก  อัตรา 5.54 และ 2.77 ตันต่อ
                       ไร่  มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก  และปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน  ได้แก่
                       ความพรุน  การอุ้มน้ า  การดูดยึดน้ า  และการซาบซึมน้ าในดินดีขึ้น  พืชสามารถน าน้ าไปใช้ในการ
                       เจริญเติบโตได้หากเกิดสภาวะแห้งแล้ง  ฝนทิ้งช่วงได้  และจากรายงานของ Hojati      and

                       Nourbakhsh  (2006)  ศึกษาการใช้ปุ๋ยหมักจากกากตะกอน  และมูลโค  เปรียบเทียบกับการใส่
                       ปุ๋ยเคมีในดินร่วนปนเหนียวพื้นที่แห้งแล้ง  - กึ่งแห้งแล้งในการปลูกข้าวโพด  ระยะเวลา 4 ปี  จากการ
                       ทดลองการใช้ปุ๋ยหมักทั้ง 2 ชนิด  ปุ๋ยหมักเพิ่มอินทรียวัตถุในดินเฉลี่ยเท่ากับ 2.24  เปอร์เซ็นต์  ส่วน

                       การใส่ปุ๋ยเคมี  มีอินทรียวัตถุเท่ากับ 0.51  เปอร์เซ็นต์  ส่วนต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยชีวภาพ  อัตรา 5
                       กิโลกรัมต่อต้น (ต ารับที่ 3 5 และ 7)  พบว่า  มีปริมาณอินทรียวัตถุ  ฟอสฟอรัส  และโพแทสเซียมใน
                       ดินมีปริมาณต่ ากว่าการใช้ปุ๋ยหมัก  แต่การใช้ปุ๋ยชีวภาพมีจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการปลดปล่อย
                       ธาตุอาหาร  ได้แก่  จุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจนปลดปล่อยธาตุอาหารไนโตรเจน  จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟต
                       ละลายฟอสฟอรัสในรูปที่ไม่เป็นประโยชน์ให้อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์  จุลินทรีย์ละลายธาตุ

                       โพแทสเซียมให้อยู่ในรูปที่แลกเปลี่ยนได้  และจุลินทรีย์ผลิตฮอร์โมนส่งเสริมการเจริญเติบโตของ
                       มะละกอได้  สอดคล้องกับการทดลองของ Khan and Khan (1995) พบว่า หากมีการใส่เชื้อจุลินทรีย์
                       Meloidogyne incognita และ Fusarium solani มีผลท าให้มีการปลดปล่อยไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส

                       และโพแทสเซียมได้เป็นสองเท่าเพิ่มการเจริญเติบโตของมะละกอ
                              2.4 ปริมาณแคลเซียมในดิน  จากการทดลองพบว่า  ปริมาณแคลเซียมในดินมีความ
                       แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ  โดยหลังสิ้นสุดการทดลองต ารับที่มีการใช้ปุ๋ยหมักเพียงอย่าง
                       เดียว (ต ารับที่ 4) มีปริมาณแคลเซียมในดินสูงที่สุด 3,488 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  มากกว่าต ารับการใช้

                       ปุ๋ยหมัก  ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า (ต ารับที่ 8)  และใส่ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราตาม
                       ค าแนะน า (ต ารับที่ 6)  มีปริมาณแคลเซียมในดิน 3,222 และ 3,131 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ตามล าดับ
                       มีปริมาณสูงกว่าการใช้ปุ๋ยชีวภาพเพียงอย่างเดียว  ร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราตามค าแนะน า  หรือใส่
                       ปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า (ต ารับที่ 3 5 และ 7)  มีค่าอยู่ระหว่าง 1,141 – 1,675 มิลลิกรัม
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35