Page 24 - การจัดการปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตมะละกอฮอลแลนด์ในดินทราย
P. 24
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
14
2.5 การเตรียมน้ าหมักชีวภาพจากปลานิล ดังนี้
2.5.1 วัสดุที่ใช้ในการผลิตน้ าหมักชีวภาพ
ปลา 30 กิโลกรัม
สับปะรด 10 กิโลกรัม
กากน้ าตาล 10 กิโลกรัม
น้ า 10 ลิตร
สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 1 ซอง
2.5.2 วิธีการผลิตน้ าหมักชีวภาพ
1) หั่นหรือสับวัสดุพืชหรือสัตว์ให้เป็นชิ้นเล็กๆ
2) ผสมกากน้ าตาลกับน้ าในถังหมักคนให้ส่วนผสมเข้ากัน
3) ใส่สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 จ านวน 1 ซอง ในส่วนผสมของกากน้ าตาลกับ
น้ า คนให้เข้ากันนาน 5 นาที
4) น าเศษพืชหรือสัตว์ใส่ลงในถังหมัก และคนส่วนผสมให้เข้ากัน
5) ปิดฝาไม่ต้องสนิทตั้งไว้ในที่ร่ม
6) ในระหว่างหมักคนหรือกวน 1-2 ครั้งต่อวัน เพื่อระบายก๊าซคาร์บอนได -
ออกไซด์และท าให้ส่วนผสมคลุกเคล้าได้ดียิ่งขึ้น
2.6 การใส่ปุ๋ย
2.6.1 การใช้ปุ๋ยหมักตามต ารับการทดลอง ได้แก่ ต ารับที่ 4 6 และ 8 ใส่ในช่วง
เตรียมดิน โดยผสมดินและรองก้นหลุมก่อนปลูกมะละกอ อัตรา 20 กิโลกรัมต่อต้น
2.6.2 การใช้ปุ๋ยชีวภาพตามต ารับการทดลอง ได้แก่ ต ารับที่ 3 5 และ 7 โดยผสม
ดินและรองก้นหลุมก่อนปลูกมะละกอ อัตรา 5 กิโลกรัมต่อต้น
2.6.3 การใส่ปุ๋ยเคมี
1) วิธีการใส่ปุ๋ยเคมี 2 สูตร ได้แก่ ปุ๋ยเคมีสูตร 15 – 15 – 15 ใส่เมื่อมะละกอ
อายุ 1 2 และ 3 เดือน และช่วงที่ 2 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 13 – 13 – 21 ที่อายุ 4 และ 5 เดือน
2) การใส่ปุ๋ยเคมีอัตราตามค าแนะน าในต ารับที่ 2 5 และ 6 ใช้ปุ๋ยสูตร
15 – 15 – 15 อัตรา 50 กรัมต่อต้นต่อครั้ง และช่วงที่ 2 สูตร 13 – 13 – 21 อัตรา 100 กรัมต่อต้น
ต่อครั้ง
3) การใส่ปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน าในต ารับที่ 7 และ 8 ใช้ปุ๋ยสูตร
15 – 15 – 15 อัตรา 25 กรัมต่อต้นต่อครั้ง และช่วงที่ 2 สูตร 13 – 13 – 21 อัตรา 50 กรัมต่อต้น
ต่อครั้ง