Page 21 - การจัดการปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพร่วมกับน้ำหมักชีวภาพ เพื่อเพิ่มผลผลิตมะละกอฮอลแลนด์ในดินทราย
P. 21
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
12
หมายเหตุ 1. ฉีดน้ าหมักชีวภาพในต ารับที่ 3 ถึงต ารับที่ 8
2. ปุ๋ยเคมีอัตราตามค าแนะน า คือ ปุ๋ยเคมีสูตร 15 – 15 – 15 อัตรา 50 กรัม
ต่อต้น และสูตร 13 – 13 - 21 อัตรา 100 กรัมต่อต้นต่อครั้ง
3. ปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามค าแนะน า สูตร 15 – 15 – 15 อัตรา 25 กรัม
ต่อต้น และสูตร 13 – 13 – 21 อัตรา 50 กรัมต่อต้นต่อครั้ง
2. ขั้นตอนการด าเนินงาน
2.1 ส ารวจและคัดเลือกพื้นที่แปลงทดลองที่มีสภาพดินทราย ด าเนินการในพื้นที่โครงการ
จัดพัฒนาที่ดินฯ ตามพระราชประสงค์ (หนองพลับ – กลัดหลวง) ต าบลหนองพลับ อ าเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่เป็นกลุ่มชุดดินที่ 36 ชุดดินปราณบุรี
2.2 การเตรียมพื้นที่ ท าการไถดะ 1 ครั้ง ไถแปร 1 ครั้ง พื้นที่รวมมีขนาดแปลง 15 x 48
เมตร ขนาดแปลงย่อย 5 X 6 เมตร แต่ละแถวมี 8 แปลงย่อย มีจ านวนทั้งสิ้น 24 แปลงย่อย (ภาพ
ที่ 1)
2.3 การเตรียมหลุมปลูก หลุมปลูกมีขนาด 30 x 30 x 30 เซนติเมตร ระยะการปลูก
2.5 x 3 เมตร มีมะละกอ 4 ต้นต่อแปลง จ านวน 208 ต้นต่อไร่
2.4 การเตรียมปุ๋ยชีวภาพ พด.12 ดังนี้
2.4.1 วัสดุส าหรับขยายเชื้อปุ๋ยชีวภาพ พด.12
ปุ๋ยหมัก 300 กิโลกรัม
ร าข้าว 3 กิโลกรัม
ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 1 ซอง
2.4.2 วิธีการขยายเชื้อ
1) ผสมปุ๋ยชีวภาพ พด.12 และร าข้าวในน้ า 1 ปี๊บ (20 ลิตร) คนให้เข้ากัน
นาน 5 นาที
2) รดด้วยสารละลายปุ๋ยชีวภาพ พด.12 ลงบนกองปุ๋ยหมักและคลุกเคล้าให้
เข้ากัน ปรับความชื้นให้ได้ 70 เปอร์เซ็นต์ โดยตรวจสอบความชื้นด้วยการก ากองปุ๋ยหมักเป็นก้อน
และไม่มีน้ าให้ไหลออกมา เมื่อคลายมือออกปุ๋ยหมักยังคงสภาพเป็นก้อนอยู่ได้
3) ตั้งกองปุ๋ยหมักเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าให้มีความสูง 50 เซนติเมตร และใช้
วัสดุคลุมกองปุ๋ยเพื่อรักษาความชื้น
4) กองปุ๋ยหมักไว้ในที่ร่มเป็นระยะเวลา 4 วัน แล้วจึงน าไปใช้