Page 46 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      40



                     4.2  พื นที่น ้าท่วมซ ้าซากรายจังหวัดของภาคใต้

                           การก าหนดขอบเขตและระดับการเกิดน้ าท่วมซ้ าซากของประเทศไทย ได้จากการน าเอาปัจจัยหลัก
                     ที่ท าให้เกิดน้ าท่วม ได้แก่ ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมของพื้นที่น้ าท่วม ในอดีตย้อนหลัง 10 ปี
                     (ตั้งแต่พ.ศ. 2545-2556) ข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยน้ าท่วมซ้ าซากเก่า (พ.ศ. 2548) ข้อมูลสถิติทาง
                     อุตุนิยมวิทยา ข้อมูลสภาพใช้ที่ดินระดับจังหวัด แผนที่กลุ่มชุดดินแผนที่ขอบเขตการปกครอง ระยะห่าง

                     จากล าน้ าความลาดชันของสภาพพื้นที่และพื้นที่ราบน้ าท่วมถึง น ามาวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์
                     ของข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยการน าข้อมูลแต่ละชั้นข้อมูลมาซ้อนทับกัน
                     (Overlay) ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์พร้อมด้วยเงื่อนไขตามที่ก าหนดไว้และจัดท าชั้นแผนที่

                     ของตัวแปรต่างๆ เพื่อน ามาใช้ในการก าหนดขอบเขตพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดน้ าท่วมซ้ าซากโดยได้
                     จ าแนกการเกิดพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้
                           ระดับที่ 1 พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นครั้งคราว มีน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี
                           ระดับที่ 2 พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง มีน้ าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี
                           ระดับที่ 3 พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นประจ า มีน้ าท่วมขังมากกว่า 8 ครั้งในรอบ 10 ปี

                           ซึ่งจากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าภาคใต้มีพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากทั้งหมด 4,243,888 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                     1.32 ของพื้นที่ประเทศไทย โดยมีพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากทั้งหมด 12 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ ชุมพร ตรัง
                     นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี พื้นที่ที่ได้รับ

                     ผลกระทบรวมทั้งสิ้น 119 อ าเภอ และ 1,416 ต าบล โดยจังหวัดที่มีพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากมากที่สุด ได้แก่
                     จังหวัดนครศรีธรรมราช 1,744,498 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 41.11 ของภาคใต้ รองลงมาได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
                     692,902 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 16.33 ของภาคใต้ และจังหวัดสงขลา 553,907 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                     13.05 ของภาคใต้ ตามล าดับ โดยสามารถจ าแนกพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากและระดับความรุนแรงในการเกิด

                     แยกเป็นรายจังหวัดได้ดังต่อไปนี้ (ตารางที่ 8 ตารางที่ 9 ตารางที่ 10 และภาพที่ 7)
                           4.2.1 จังหวัดกระบี่ พบว่ามีพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากทั้งหมด 5,598 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของ
                     พื้นที่ภาคใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นครั้งคราว มีน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี ทั้งหมด
                     จ านวน 5,598 ไร่ พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 9 ต าบล 4 อ าเภอ พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากส่วนใหญ่อยู่

                     ในอ าเภอเขาพนม 3,461 ไร่ และอ าเภอปลายพระยา 2,025 ไร่ โดยมีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบ
                     จ านวน 4,887 ไร่ ได้แก่ ไม้ยืนต้น 4,215 ไร่ ไม้ผล 59 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และ
                     ไม้ละเมาะ 613 ไร่ (ตารางที่ 10 และภาพที่ 8)
                           4.2.2 จังหวัดชุมพร พบว่ามีพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากทั้งหมด 40,112 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.09

                     ของพื้นที่ภาคใต้ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นครั้งคราว มีน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี
                     จ านวน 32,524 ไร่ และพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง มีน้ าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี จ านวน 7,089 ไร่
                     และพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นประจ า มีน้ าท่วมขังมากกว่า 8 ครั้งในรอบ 10 ปี จ านวน 499 ไร่ พื้นที่

                     ได้รับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 75 ต าบล 7 อ าเภอ พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากส่วนใหญ่อยู่ในอ าเภอเมืองชุมพร
                     18,787 ไร่ รองลงมาได้แก่ อ าเภอสวี 8,151 ไร่ และอ าเภอหลังสวน 7,213 ไร่ โดยมีพื้นที่การเกษตรที่
                     ได้รับผลกระทบจ านวน 33,879 ไร่ ได้แก่ นาข้าว 6,021 ไร่ ไม้ยืนต้น 7,289 ไร่ ไม้ผล 834 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ
                     ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ 19,735 ไร่ (ตารางที่ 10 และภาพที่ 9)
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51