Page 47 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      41



                           4.2.3 จังหวัดตรัง พบว่ามีพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากทั้งหมด 133,372 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.30
                     ของพื้นที่ภาคใต้ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นครั้งคราว มีน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี
                     จ านวน 126,236 ไร่ และพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง มีน้ าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี จ านวน

                     7,136 ไร่ พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 77 ต าบล 9 อ าเภอ พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากส่วนใหญ่อยู่ใน
                     อ าเภอเมืองตรัง 66,173 ไร่ รองลงมาได้แก่ อ าเภอนาโยง 19,075 ไร่ และอ าเภอกันตรัง 15,913 ไร่
                     โดยมีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ านวน 124,192 ไร่ ได้แก่ นาข้าว 43,486 ไร่ ไม้ยืนต้น
                     53,713 ไร่ ไม้ผล 1,489 ไร่ พืชสวน 79 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ
                     25,425 ไร่ (ตารางที่ 10 และภาพที่ 10)

                           4.2.4  จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่ามีพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากทั้งหมด 1,744,498 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                     3.95 ของพื้นที่ภาคใต้ เป็นจังหวัดที่พบพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากมากที่สุดของภาคใต้ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่
                     น้ าท่วมซ้ าซากเป็นครั้งคราว มีน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี จ านวน 1,003,527 ไร่ รองลงมา

                     ได้แก่ พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง มีน้ าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี จ านวน 512,904 ไร่และพื้นที่
                     น้ าท่วมซ้ าซากเป็นประจ า มีน้ าท่วมขังมากกว่า 8 ครั้งในรอบ 10 ปี จ านวน 228,067 ไร่ พื้นที่ที่ได้รับ
                     ผลกระทบรวมทั้งสิ้น 371 ต าบล 22 อ าเภอ พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากส่วนใหญ่อยู่ในอ าเภออ าเภอปากพนัง
                     265,023 ไร่ รองลงมาได้แก่อ าเภอหัวไทร 259,829 ไร่ และอ าเภอชะอวด 245,165 ไร่ โดยมีพื้นที่

                     การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ านวน 1,528,046 ไร่ ได้แก่ นาข้าว 585,670 ไร่ พืชไร่ 1,904 ไร่  ไม้ยืนต้น
                     284,140 ไร่ ไม้ผล 65,797 ไร่ พืชสวน 23,052 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ
                     567,483 ไร่ (ตารางที่ 10 และภาพที่ 11)
                           4.2.5 จังหวัดนราธิวาส พบว่ามีพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากทั้งหมด 153,900 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.35

                     ของพื้นที่ภาคใต้ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นครั้งคราว มีน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี
                     จ านวน 124,907 ไร่ รองลงมาได้แก่พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง มีน้ าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี
                     จ านวน 27,124 ไร่ และพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นประจ า มีน้ าท่วมขังมากกว่า 8 ครั้งในรอบ 10 ปี
                     จ านวน 1,869 ไร่ พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 95 ต าบล 11 อ าเภอ พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากส่วนใหญ่

                     อยู่ในอ าเภอตากใบ 47,150 ไร่ รองลงมาได้แก่ อ าเภอเมืองนราธิวาส 25,456 ไร่ และอ าเภอบาเจาะ
                     22,852 ไร่ โดยมีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ านวน 133,398 ไร่ ได้แก่ นาข้าว 84,974 ไร่ พืชไร่ 39 ไร่
                     ไม้ยืนต้น 20,270 ไร่ ไม้ผล 5,073 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ 23,042 ไร่

                     (ตารางที่ 10 และภาพที่ 12)
                           4.2.6 จังหวัดปัตตานี พบว่ามีพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากทั้งหมด 286,983 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.65
                     ของพื้นที่ภาคใต้ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นครั้งคราว มีน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี
                     จ านวน 247,638 ไร่ รองลงมาได้แก่ พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง มีน้ าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี
                     จ านวน 38,801 ไร่ และพื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นประจ า มีน้ าท่วมขังมากกว่า 8 ครั้งในรอบ 10 ปี จ านวน

                     544 ไร่ พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบรวมทั้งสิ้น195 ต าบล 12 อ าเภอ พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากส่วนใหญ่ อยู่ในอ าเภอ
                     หนองจิก 59,522 ไร่ รองลงมาได้แก่ อ าเภอโคกโพธิ์ 40,171 ไร่ และอ าเภอยะหริ่ง 33,140 ไร่ โดยมีพื้นที่
                     การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ านวน 274,968 ไร่ ได้แก่ นาข้าว 197,496 ไร่ ไม้ยืนต้น 31,217 ไร่ ไม้ผล

                     7,663ไร่ และพื้นที่อื่นๆ 38,590 ไร่ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ (ตารางที่ 10 และภาพที่ 13)
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52