Page 29 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
23
บทที่ 3
การตรวจเอกสาร
3.1 ความหมายของอุทกภัย
อุทกภัยหรือ น ้ำท่วม คือ ภัยและอันตรำยที่เกิดจำกสภำวะน ้ำท่วมหรือน ้ำท่วมฉับพลันมีสำเหตุมำ
จำกกำรเกิดฝนตกหนักหรือฝนต่อเนื่องเป็นเวลำนำนซึ่งอำจเนื่องมำจำกหย่อมควำมกดอำกำศต่้ำ
พำยุหมุนเขตร้อน ได้แก่ พำยุดีเปรสชั่น, พำยุโซนร้อน, พำยุใต้ฝุ่นร่องมรสุมหรือร่องควำมกดอำกำศต่้ำ
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและเขื่อนพังเป็นต้น
น ้ำท่วมซ ้ำซำก เป็นพฤติกรรมของน ้ำที่กระท้ำต่อพื นที่ใดพื นที่หนึ่ง ในลักษณะกำรท่วมขังบน
พื นที่ดินสูงกว่ำระดับปกติและยำวนำนเป็นประจ้ำ ทั งนี สำมำรถจ้ำแนกกำรเกิดน ้ำท่วมซ ้ำซำกออกเป็น
3 ระดับ โดยแปลงมำจำกชั นอันตรำยจำกกำรถูกน ้ำท่วม: flooding ในคู่มือกำรจ้ำแนกควำม
เหมำะสมของดินส้ำหรับพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย (กรมพัฒนำที่ดิน, 2543) ดังนี
ระดับที่ 1 พื นที่น ้ำท่วมซ ้ำซำกเป็นครั งครำว มีน ้ำท่วมขังไม่เกิน 3 ครั งในรอบ 10 ปี
ระดับที่ 2 พื นที่น ้ำท่วมซ ้ำซำกบ่อยครั ง มีน ้ำท่วมขัง 4-7 ครั งในรอบ 10 ปี
ระดับที่ 3 พื นที่น ้ำท่วมซ ้ำซำกเป็นประจ้ำ มีน ้ำท่วมขังมำกกว่ำ 8 ครั งในรอบ 10 ปี
พื นที่น ้ำท่วมซ ้ำซำก หมำยถึง พื นที่ที่มีกำรท่วมขังของน ้ำบนผิวดินสูงกว่ำระดับปกติและ
มีระยะเวลำที่น ้ำท่วมขังยำวนำนอยู่เป็นประจ้ำ จนสร้ำงควำมเสียหำยต่อพื นที่กำรเกษตร ทรัพย์สิน
และ/หรือชีวิต
ส่วนใหญ่พื นที่ที่เกิดน ้ำท่วมมักเป็นพื นที่รำบลุ่มต่้ำ โดยมีภูมิสัณฐำน (Landform) ประเภทที่รำบ
น ้ำท่วมถึง (Floodplain) ซึ่งฤดูฝนมักมีน ้ำท่วมขังพื นที่เสมอ เนื่องจำกปริมำณน ้ำที่เกิดจำกฝนตกใน
พื นที่ และ/หรือน ้ำจำกพื นที่ภำยนอก เมื่อสะสมรวมตัวกันแล้วมีปริมำณมำกเกินควำมสำมำรถในกำร
รองรับน ้ำของแหล่งน ้ำในพื นที่ (สุชำติและเกษร, 2548)
3.2 ลักษณะของอุทกภัย
ลักษณะของอุทกภัยมีควำมรุนแรง และรูปแบบต่ำงๆ กันขึ นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศและ
สิ่งแวดล้อมของแต่ละพื นที่ กรมอุตุนิยมวิทยำ (2556) สรุปว่ำมีลักษณะดังนี
3.2.1 น ้ำป่ำไหลหลำก หรือน ้ำท่วมฉับพลันมักจะเกิดขึ นในที่รำบต่้ำหรือที่รำบลุ่มบริเวณใกล้ภูเขำ
ต้นน ้ำที่รำบระหว่ำงหุบเขำเช่น บริเวณต้นน ้ำซึ่งมีควำมชันของพื นที่มำก พื นที่ป่ำที่ถูกท้ำลำยไปท้ำให้กำรกัก
เก็บน ้ำหรือกำรต้ำนน ้ำลดน้อยลงเกิดขึ นเนื่องจำกฝนตกหนักเหนือภูเขำต่อเนื่องเป็นเวลำนำนท้ำให้
จ้ำนวนน ้ำสะสมมีปริมำณมำกจนพื นดินและต้นไม้ดูดซับไม่ไหวน ้ำจึงไหลบ่ำลงสู่ที่รำบต่้ำด้ำนล่ำงอย่ำง
รวดเร็วและรุนแรงท้ำให้บ้ำนเรือนพังเสียหำยและอำจท้ำให้เกิดอันตรำยถึงชีวิตได้
3.2.2 น ้ำท่วมหรือน ้ำท่วมขัง เป็นลักษณะของอุทกภัยที่เกิดขึ นจำกปริมำณน ้ำสะสมจ้ำนวนมำกที่
ไหลบ่ำในแนวระนำบ จำกที่สูงไปยังที่ต่้ำเข้ำท่วมอำคำรบ้ำนเรือนพืชสวนไร่นำได้รับควำมเสียหำยหรือ
เป็นสภำพน ้ำท่วมขังในเขตเมืองใหญ่ที่เกิดจำกฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลำนำนมีสำเหตุมำจำกระบบกำร
ระบำยน ้ำไม่ดีพอ มีสิ่งก่อสร้ำงกีดขวำงทำงระบำยน ้ำหรือเกิดน ้ำทะเลหนุนสูงกรณีพื นที่อยู่ใกล้ชำยฝั่งทะเล
3.2.3 น ้ำล้นตลิ่งเกิดขึ นจำกปริมำณน ้ำจ้ำนวนมำกที่เกิดจำกฝนหนักต่อเนื่องที่ไหลลงสู่ล้ำน ้ำ
หรือแม่น ้ำมีปริมำณมำกจนระบำยลงสู่ลุ่มน ้ำด้ำนล่ำงหรือออกสู่ปำกน ้ำไม่ทันท้ำให้เกิดสภำวะน ้ำล้นตลิ่ง