Page 28 - การจัดการดินเพื่อปลูกอ้อยในกลุ่มชุดดินที่ 24 จังหวัดชลบุรีโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        17






                       ชุดดินราชบุรี)  กลุํมดินรํวน  กลุํมดินตื้น  และกลุํมดินเหนียว  ตามล าดับ  และพบวําการปรับปรุง
                       ดินและใช๎พันธุ์อ๎อยที่เหมาะสมกับพื้นที่  สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช๎ไนโตรเจนได๎มากขึ้น

                       และตอบสนองตํออัตราปุ๋ยไนโตรเจนที่เฉพาะเจาะจงกับอ๎อยปลูกและอ๎อยตอ  ภายใต๎สภาพที่มีการ

                       จัดการดินแตกตํางกันในแตํละพื้นที่  นอกจากนี้  ปุ๋ยพืชสด  ปุ๋ยมูลไกํ  ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์  จุลินทรีย์
                       ละลายฟอสเฟต  และวัสดุเหลือใช๎จากโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร  เชํน  น้ ากากสํา  และน้ าเสียจาก

                       โรงงานแป้งมันส าปะหลัง  สามารถใช๎ผสมผสานรํวมกับปุ๋ยเคมีเพื่อสํงเสริมการเจริญเติบโต

                       เพิ่มผลผลิตอ๎อย  และลดต๎นทุนการใช๎ปุ๋ยเคมีได๎

                       4.  โปรแกรมการจัดการดิน

                              4.1  โปรแกรมดินไทยและธาตุอาหารพืช  เป็นโปรแกรมส าเร็จรูปที่ได๎พัฒนาขึ้นจาก

                       ฐานข๎อมูลกลุํมชุดดินที่มีอยูํทั้งหมดในประเทศไทย  ที่กรมพัฒนาที่ดินได๎ท าการส ารวจดินแล๎ว

                       ทั่วประเทศ  โดยโปรแกรมจะมีข๎อมูลชนิดของดิน  สภาพพื้นที่  ความลาดชัน  ธาตุอาหารที่มีอยูํใน

                       ดิน  คําพีเอชของดิน  และอื่น ๆ  ซึ่งเชื่อมโยงกับค าแนะน าการจัดการดินและธาตุอาหารพืช

                       ความเหมาะสมในการปลูกพืช  ปัญหาและข๎อควรระวังในการปลูกพืช  ค าแนะน าสูตรปุ๋ย  อัตรา

                       การใช๎ปุ๋ย  และอื่น ๆ  ของพืชที่ปลูก  เป็นโปรแกรมที่สะดวก  และสามารถเรียกใช๎ข๎อมูลดินตาม

                       ขอบเขตการปกครองทั่วประเทศ  โดยโปรแกรมจะแสดงรายละเอียดข๎อมูลดินได๎ถึงระดับต าบล

                       ทั่วประเทศ  ประโยชน์ของข๎อมูลในโปรแกรม  คือ  ข๎อมูลที่มีชํวยลดต๎นทุนในการผลิต  โดยเฉพาะ

                       การใช๎ปุ๋ยเคมีตามชนิดของดิน  ชํวงเวลา  และอัตราการใช๎ปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมตามชนิดของพืช

                       ที่ปลูก  เพื่อเพิ่มผลผลิตให๎สูงขึ้น  ข๎อมูลที่ได๎จากโปรแกรมชํวยในการวางแผน  และจัดการพื้นที่

                       เชํน  สามารถเลือกชนิดพืชที่เหมาะสมในการปลูกในพื้นที่ตามข๎อมูลกลุํมชุดดินที่มีในต าบลตําง ๆ

                       ทั่วประเทศ   สามารถระบุถึงปัญหาและข๎อจ ากัดการใช๎ดินในการปลูกพืช  ตลอดจนค าแนะน าใน

                       การแก๎ไขปัญหา  เพื่อให๎เกษตรกรหาทางป้องกันหรือลดปัญหาที่จะเกิดขึ้นได๎เป็นต๎น (ส านักนิเทศ

                       และถํายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน, 2557)

                              4.2โปรแกรมการจัดการดินและปุ๋ยรายแปลง  เป็นโปรแกรมส าเร็จรูปที่กรมพัฒนาที่ดินได๎

                       พัฒนาขึ้น  เพื่อเน๎นการจัดการดินและการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน  และใสํพอดีกับความ

                       ต๎องการของพืชในแปลงนั้น ๆ  ซึ่งโปรแกรมนี้จะแตกตํางจากโปรแกรมดินไทยและธาตุอาหารพืช

                       ตรงที่เกษตรกรจะต๎องเก็บตัวอยํางดินจากแปลงของตนเอง  เพื่อสํงตัวอยํางดินไปวิเคราะห์  แล๎วน า

                       ผลวิเคราะห์ที่ได๎แจ๎งให๎เจ๎าหน๎าที่สถานีพัฒนาที่ดินที่ตั้งอยูํในท๎องถิ่น  หรือหนํวยงานตําง ๆ

                       ที่เกี่ยวข๎องทราบ  เจ๎าหน๎าที่จะป้อนข๎อมูลลงในโปรแกรม  ซึ่งโปรแกรมดังกลําวจะชํวยค านวณ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33