Page 17 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         6







                                                                                                สัญลักษณ์
                                                                                                  แผนที่

                                                                                            (1) หาดทราย
                                                                                                  ชายทะเล
                                                                                            (2) ที่ราบลุ่มน้ า
                                                                                                  ทะเลขึ้นถึง
                                                                                            (3) ที่ราบลุ่มหลัง
                                                                                                  สันทราย
                                                                                            (4) พื้นที่หาด
                                                                                                  ทรายเก่า
                                                                                            (5) พื้นที่ลาดเชิงเขา
                                                                                            (6)  พื้นที่ภูเขา








                       ภาพที่ 2  ลักษณะภูมิประเทศ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ

                                   ที่มา : จตุรงค์ และคณะ  (2559)


                                      1.3.4  สภาพสมดุลน้ าของน้ าเพื่อการเกษตร จากการวิเคราะห์ข้อมูลภูมิอากาศปี
                       2526-2555 โดยใช้โปรแกรม CROPWAT ท าให้ทราบถึงสภาพการสมดุลของน้ า ความชื้นในดินเพื่อ

                       การเกษตร และค่าศักย์การคายระเหยน้ า (POTENTIAL  EVAPOTRANSPIRATION)  (ภาพที่ 3)  ซึ่งเมื่อน ามา

                       เปรียบเทียบกับปริมาณน้ าฝน จะท าให้ทราบถึงช่วงและปริมาณของการขาดน้ า (WATER
                       DEFICIENCY) และช่วงปริมาณน้ าเพียงพอ (WATER SURPLUS) โดยที่ปริมาณน้ าฝนแสดงถึงจ านวนน้ า

                       ที่ได้รับเข้ามา ส่วนค่าศักย์การคายระเหยน้ าแสดงถึงปริมาณน้ าที่สูญเสียไปจากข้อมูลดังกล่าว
                       สามารถน ามาแสดงเป็นรูปกราฟแสดงสภาพความสมดุลน้ าเพื่อการเกษตร (ภาพที่ 3)  ซึ่งอธิบาย

                       พอสังเขปได้ ดังนี้

                                     1) ช่วงเริ่มฤดูเพาะปลูกควรอยู่ในช่วงเดือนมีนาคมและสิ้นสุดฤดูเพาะปลูกในช่วง
                       เดือนพฤศจิกายน
                                     2) ช่วงขาดน้ า (deficit period) คือ ช่วงที่มีปริมาณฝนตกน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของค่า

                       ศักย์ของการระเหยน้ า (0.5PET) อยู่ในช่วงระหว่างพฤศจิกายนไปจนถึงเดือนมีนาคมของปีถัดไป
                       แสดงว่าปริมาณน้ าฝนในช่วงดังกล่าวมีไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช
                                           3) ช่วงน้ าเพียงพอ (surplus water period)  คือ ช่วงที่มีปริมาณน้ าฝนมากกว่าค่า
                       ศักย์ของการระเหยน้ า (PET)  อยู่ในช่วงระหว่างเดือนเมษายนถึงพฤศจิกายน แสดงว่าปริมาณน้ าฝน

                       ในช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่มีน้ าเพียงพอกับความต้องการของพืช
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22