Page 28 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       17




                                          a:  ลักษณะของดินตามการจ าแนก (subgrade properties)

                                          b: ความหนาของวัสดุที่เหมาะสม (thickness of suitable material)
                                          c:  ความลึกถึงชั้นหินพื้น (depth to bedrock)
                                          d: การระบายน้ าของดิน (drainage)
                                          f:  อันตรายจากน้ าท่วมหรือน้ าแช่ขัง (flood hazard)

                                          g:  ปริมาณเศษหิน ที่มีขนาดใหญ่กว่าทรายหยาบมาก (fragment coarser
                   than very  coarse sand percent)
                                          h: ระดับน้ าใต้ดินในฤดูฝน (depth to seasonal water table)
                                          j:  ปฏิกิริยาของดิน (reaction)

                                          k:  ความซึมน้ าของดิน (permeability or hydraulic conductivity)
                                          l:  ศักยภาพในการยืดและหดตัวของดิน (shrink-swell potential)
                                          m: ความลึกถึงชั้นที่มีการซาบซึมน้ า (depth to permeable material)
                                          o: การกัดกร่อนของท่อเหล็กที่ไม่เคลือบผิว (corrosivity uncoated steel)

                                          p: การมีก้อนหิน  (stoniness)
                                          q: ความลึกถึงชั้นทรายหรือกรวด (depth to sand and gravel)
                                          r:  การมีหินโผล่ (rockiness)

                                          s:  เนื้อดิน (texture)
                                          t:  สภาพภูมิประเทศหรือความลาดชัน (topography or slope)
                                          u: การยึดตัวขณะดินชื้น (moist consistence)
                                          x:  ความเค็มของดิน (salinity)


                                     ระดับความเหมาะสมแต่ละระดับ มีความหมายดังนี้
                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 1: เหมาะสมดี (good) คือ ดินไม่มีหรือมีข้อจ ากัดเล็กน้อย
                   สมบัติต่าง ๆ เหมาะสมตามที่ก าหนดไว้ จะมีข้อจ ากัดบ้างเล็กน้อยและสามารถแก้ไขได้ง่าย การดูแลรักษา

                   และการปรับปรุงบ ารุงดินท าได้ง่ายและเสียค่าใช้จ่ายน้อย
                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 2: เหมาะสมปานกลาง (fair) คือดินที่มีสมบัติเหมาะสม
                   ปานกลาง ข้อจ ากัดในการใช้อาจมีบ้าง ซึ่งต้องแก้ไข โดยการวางแผนและออกแบบให้เข้ากับสภาพและ

                   ลักษณะของดินอาจจะต้องมีการบ ารุงรักษาเป็นพิเศษ แผนงานการก่อสร้างอาจจะต้องแก้ไขดัดแปลงบ้าง
                   จากแผนเดิมที่ใช้กับดิน ที่มีข้อจ ากัดเพียงเล็กน้อย การก่อสร้างฐานราก หรือ ตอหม้อควรเสริมให้มั่นคง
                   เป็นพิเศษ
                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 3: ไม่เหมาะสม (poor) คือ ดินที่มีสมบัติไม่เหมาะสม

                   เพียงอย่างเดียวหรือมากกว่าและมีข้อจ ากัดนั้นๆ มีความยุ่งยากในการดัดแปลงแก้ไขและต้องเสียค่าใช้จ่าย
                   สูง จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงและฟื้นฟูดินเป็นหลัก นอกจากนั้นต้องมีการออกแบบเป็นพิเศษตลอดจนมี
                   การบ ารุงรักษาดินอย่างสม่ าเสมอยิ่งขึ้น
                                        ชั้นความเหมาะสมที่ 4: ไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง (very poor) คือในการใช้ประโยชน์

                   ของดินทางปฐพีกลศาสตร์บางอย่างจะเป็นการเพิ่มความเสียหาย ส าหรับการใช้ประโยชน์ในกิจกรรมเฉพาะอย่าง
                   ซึ่งจะแก้ไขข้อจ ากัดได้ยากที่สุดและเสียค่าใช้จ่ายสูง
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33