Page 34 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           24




                            2)  ที่ราบลุ่มบางปะกง อยู่ถัดจากที่ราบดอนและที่เชิงเนินของที่ราบฉนวนไทยมาทางด้าน

                  ตะวันตกของภูมิภาค มีลักษณะเป็นที่ราบและที่ราบลุ่ม เขตนี้อยู่ในพื้นที่ราบลุ่ม 2 ฝั่งแม่น้้าบางปะกง ท้าให้

                  เป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส้าคัญ เนื่องจากอยู่ในที่ราบมีน้้าเพียงพอต่อการเพาะปลูกและดินมีความอุดม
                  สมบูรณ์ค่อนข้างมาก เนื่องจากมีการสะสมตัวของแร่ธาตุที่เกิดจากการสลายตัวของหินและแร่ โดย

                  กระบวนการตามธรรมชาติเคลื่อนย้ายลงมาจากภูเขาและที่สูงบริเวณรอบๆ


                  2.5  ทรัพยากรดิน

                        ในลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึงมีทรัพยากรดินประกอบด้วย 46 กลุ่มชุดดิน โดยส่วนใหญ่ในพื้นที่
                  ดอนมีเนื้อที่ 1,406,915 ไร่ หรือร้อยละ 85.27 ประกอบด้วยกลุ่มชุดดิน 28 31 31B 31B/55B 33 33B 35

                  35B 36 38B 40 40B 41 44B 46 46B 46C 47B 47C 47D 47E 48B 48C 51C 51D 52B 52C 54 54B 55

                  55B 55C และ 62 โดยในพื้นที่ดอนส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลางถึงต่้า มักพบปัญหา

                  ดินปนกรวด ท้าให้มีผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน การเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของ
                  พืช กลุ่มชุดดินที่พบมาก 3 ล้าดับแรกในพื้นที่ดอน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 46B  มีเนื้อที่ 377,140 ไร่ คิด

                  เป็นร้อยละ 22.86 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา กลุ่มชุดดินที่ 55B  มีเนื้อที่ 157,622 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.55

                  ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา และกลุ่มชุดดินที่ 62 มีเนื้อที่ 154,888 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.39 ของเนื้อที่ลุ่มน้้า
                  สาขา ตามล้าดับ ในพื้นที่ลุ่มมีเนื้อที่ 154,614 ไร่ หรือร้อยละ 9.37  ประกอบด้วยกลุ่มชุดดิน 4 5 6 7

                  7hi 10 17hi 18 22hi 24 25 25hi และ25hiB โดยในพื้นที่ลุ่มส่วนใหญ่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินปาน

                  กลางถึงต่้าเช่นเดียวกัน มักพบปัญหาบางพื้นที่ดินค่อนข้างเป็นทรายและอาจขาดน้้าในฤดูท้านา กลุ่ม

                  ชุดดินที่พบมาก 3 ล้าดับแรกในพื้นที่ลุ่ม ได้แก่  กลุ่มชุดดินที่ 7 มีเนื้อที่ 117,058 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                  7.09 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา กลุ่มชุดดินที่ 25hi มีเนื้อที่ 14,668 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.89 ของเนื้อที่ลุ่มน้้า

                  สาขา และกลุ่มชุดดินที่ 18 มีเนื้อที่ 10,027 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.61 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา (ตารางที่ 2

                  และภาพที่ 8)
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39