Page 38 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           28





                  2.6  การวิเคราะห์สภาพการใช้พื้นที่

                        จากการส้ารวจสภาพการใช้ที่ดินของจังหวัดสระแก้ว ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และจันทบุรี ปี
                  พ.ศ. 2556 โดยส่วนวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน ซึ่งได้จากการแปล

                  ข้อมูลดาวเทียม SPOT-5  ร่วมกับภาพถ่ายออร์โธสี โดยพิจารณาจากองค์ประกอบของข้อมูล คือ

                  สี (tone) ความละเอียด (texture) รูปแบบ หรือการเรียงตัวของข้อมูล (pattern) ต้าแหน่ง (location) ของ
                  ข้อมูลร่วมกับการตรวจสอบภาคสนามโดยจากการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ระบบสารสนเทศ

                  ภูมิศาสตร์ พบว่า ในเขตลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึง สามารถจ้าแนกประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินได้

                  เป็น 5 ประเภทหลัก ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 9)
                        2.5.1  พื้นที่เกษตรกรรม เช่น มันส้าปะหลัง นาข้าว อ้อย และข้าวโพด มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น

                  1,248,574 ไร่ หรือร้อยละ 75.671 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา

                        2.5.2  พื้นที่ป่าไม้ เช่น ป่าดิบสมบูรณ์ ป่าผลัดใบสมบูรณ์ ป่าดิบรอสภาพฟื้นฟู และป่าผลัดใบ

                  รอสภาพฟื้นฟู มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 278,990 ไร่ หรือร้อยละ 16.909 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา
                        2.5.3  พื้นที่น้้า เช่น แม่น้้าล้าคลอง บ่อน้้าในไร่นา และอ่างเก็บน้้า มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 24,617

                  ไร่ หรือร้อยละ 1.492 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา

                        2.5.4  พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง เช่น หมู่บ้าน ไม้ผสม สถานที่ราชการ และสถาบันต่างๆ มีเนื้อที่

                  รวมทั้งสิ้น 79,491 ไร่ หรือร้อยละ 4.818 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา
                        2.5.5  พื้นที่เบ็ดเตล็ด เช่น ไม้ละเมาะ ทุ่งหญ้า และพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น  18,321 ไร่ หรือ

                  ร้อยละ 1.110 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43