Page 15 - ผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ตอบสนองต่อการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินที่ปลูกในชุดดินนครพนม จังหวัดบึงกาฬ
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         7








                       ข้าวโพดต้องการธาตุอาหารและน้ าอย่างเพียงพอ จึงควรให้น้ าตามร่องคูพร้อมกับใส่ปุ๋ยแต่งหน้าครั้งที่
                       2 โดยใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ โรยข้างร่องน้ าที่ดินมีความชื้นอยู่หลังจากให้น้ า
                       แล้ว ระยะสร้างเมล็ด (9-14 สัปดาห์หลังปลูก) เมื่อข้าวโพดอายุได้  9-14 สัปดาห์หลังปลูก ควรให้น้ า
                       ตามร่องคูอย่างสม่ าเสมอและระมัดระวังการหักล้มของข้าวโพดในระยะนี้ เนื่องจากอาจมีพายุฤดูร้อน

                       เข้าท าลายความเสียหาย ให้กับข้าวโพด และ ระยะสุกแก่ทางสรีรวิทยา (15-16 สัปดาห์หลังปลูก)
                       ควรเก็บเกี่ยวข้าวโพดเมื่อฝักแก่จัดและแห้งสนิทโดยปล่อยให้ต้นแห้งสนิท ซึ่งจะมีความชื้นเมล็ด
                       ประมาณ 20-25 เปอร์เซ็นต์ หลังจากเก็บฝักแล้วควรน ามาตากแดดประมาณ 1-2 แดดเพื่อลด
                       ความชื้นให้ต่ า จากนั้นน าไปสีกะเทาะเมล็ดพร้อมกับบรรจุกระสอบส่งจ าหน่ายต่อ

                              สมชาย (2552) ได้แนะน าให้ใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนา ได้แก่ การใช้ปุ๋ย
                       ไนโตรเจน อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ โดยแบ่งใส่ไนโตรเจนถึง 3 ครั้ง คือ ใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเป็นปุ๋ยรองพื้น
                       ปุ๋ยแต่งหน้าครั้งที่ 1  (3-4 สัปดาห์หลังปลูก) และครั้งที่ 2  (7-8 สัปดาห์หลังปลูก) อัตรา 8  7 และ 5
                       กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ ให้ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม ตามค่าวิเคราะห์ดินจากค าแนะน าของกรม

                       วิชาการเกษตร คือ ถ้าดินมีปริมาณฟอสฟอรัสสูงกว่า 15 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ไม่ต้องใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส
                       ก่อนปลูก หากฟอสฟอรัสในดินมีปริมาณ  10  -15 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมและต่ ากว่า 10 มิลลิกรัมต่อ
                       กิโลกรัม ควรใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัส อัตรา 5 หรือ 10 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ตามล าดับ และถ้าดินมีปริมาณ
                                                                       2 5
                       โพแทสเซียมสูงกว่า  100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ไม่จ าเป็นต้องใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมก่อนปลูก หาก
                       โพแทสเซียมในดินมีปริมาณ  40 -100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมและต่ ากว่า 40 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ควร
                       ใส่ปุ๋ยโพแทสเซียม อัตรา 5 หรือ 10 กิโลกรัม K O ต่อไร่ ตามล าดับ
                                                             2
                              Inthong (1999) ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยเคมีในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนาในดิน 2 ชนิด ได้แก่
                       Sandy clay loam และ Clay โดยท าการทดลองเปรียบเทียบการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน 5 อัตรา คือ 0 9.6

                       14.4  19.2 และ 24.0 กิโลกรัม N  ต่อไร่ พบว่า ดินทั้งสองชนิดให้ผลผลิตไม่แตกต่างกันอย่างมี
                       นัยส าคัญทางสถิติ และการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน อัตรา 19.2 และ 24.0 กิโลกรัม N ต่อไร่ให้ผลผลิตเมล็ด
                       ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ทั้งการใส่ปุ๋ยทั้งสองอัตราดังกล่าวให้ผลผลิตเมล็ดสูงกว่าการ

                       ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน  9.6 และ 14.4 กิโลกรัม N ต่อไร่ และให้ผลผลิตเมล็ดสูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน
                       ตามล าดับ  จึงแนะน าให้ใช้ปุ๋ยไนโตรเจน อัตรา 19.2 กิโลกรัม N  ต่อไร่ โดยใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัส อัตรา
                       12.8 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ และใช้ปุ๋ยโพแทสเซียม อัตรา 12.8 กิโลกรัม K O  ต่อไร่และจากการ
                                    2 5
                                                                                     2
                       วิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อเปรียบเทียบการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนอัตรา 19.2 กิโลกรัม N  ต่อไร่
                       กับ 14.4 กิโลกรัม N ต่อไร่ พบว่า การใส่ปุ๋ยไนโตรเจนที่เพิ่มขึ้นมีผลตอบแทนส่วนเพิ่มร้อยละ 655 ซึ่ง
                       คุ้มค่าการลงทุนที่สุด และเมื่อเปรียบเทียบการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนอัตรา 19.2 กิโลกรัม N ต่อไร่กับ 24.0
                       กิโลกรัม N ต่อไร่ พบว่าให้ผลผลิตไม่แตกต่างกัน โดยการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนที่เพิ่มขึ้นมีผลตอบแทนส่วน
                       เพิ่มร้อยละ 184

                              Aromsawa  et  al.  (2011)  ใช้กากตะกอนมูลสุกรเป็นปุ๋ยอินทรีย์ให้ข้อมูลแตกต่างกันทาง
                       สถิติอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง และศึกษาผลของกากตะกอนมูลสุกรในอัตราต่าง ๆ ที่มีต่อผลผลิตข้าวโพด
                       เลี้ยงสัตว์หลังนา โดยเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ 4 อัตรา ได้แก่ การไม่ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ การใส่ปุ๋ย
                       อินทรีย์เม็ด อัตรา 60 และ 120 กิโลกรัมต่อไร่ และการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดผง อัตรา 60 กิโลกรัมต่อไร่

                       พบว่า การไม่ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ให้ผลผลิตต่ ากว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดผง อัตรา 120
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20