Page 158 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 158

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             128





                  ตาราง ๗ - ๑๑  ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของตัวชี้วัดใน
                                ร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ ที่ได้รับการอนุมัติขั้นต้น

                                                                                                  ระดับความ
                                                                                   ̅
                                           ตัวชี้วัด (Indicator)                           S.D.
                                                                                                    คิดเห็น
                   เป้าประสงค์ ๑.๑ :  จัดท าแผนการใช้ที่ดินนาร้างเพื่อการเกษตร
                        •  ร้อยละความส าเร็จของการจัดท าแผนการใช้ที่ดินนาร้างเพื่อการเกษตร   ๓.๘๗   ๐.๔๙๘   มาก
                   เป้าประสงค์ ๑.๒ : ส่งเสริมเกษตรกรผลิตตามความเหมาะสมของดิน
                        •  รัอยละของพื้นที่เกษตรกรรมที่มีการใช้นาร้างตามศักยภาพของดิน   ๓.๖๔   ๐.๕๐๙   มาก
                   เป้าประสงค์ ๒.๑ : พัฒนากระบวนการอนุรักษ์ดินและน้ าและปรับปรุงดินในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สอดคล้อง
                                  กับสภาพพื้นที่
                        •  พื้นที่เกษตรกรรมได้รับการอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันการชะล้าง  ๓.๗๑   ๐.๗๖๕   มาก
                           พังทลายของดิน (ไร่)
                        •  พื้นที่เกษตรกรรมได้รับการอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อป้องกันการชะล้าง  ๓.๓๔   ๐.๖๑๑   ปานกลาง
                           พังทลายของดิน (ไร่)
                   เป้าประสงค์ ๓.๑ : เกษตรกรน าความรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อในการการพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรม
                        •  ร้อยละความส าเร็จของโครงการพัฒนาที่ดินอันเนื่องจากพระราชด าริ   ๔.๓๑   ๐.๔๔   มากที่สุด
                        •  จ านวนกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาเข้าสู่การรับรอง  ๓.๒๗   ๐.๘๖๓   ปานกลาง
                           มาตรฐานเกษตรอินทรีย์
                        •  ร้อยละความส าเร็จของโครงการศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินตามแนว  ๓.๙๒   ๐.๔๖๔   มาก
                           เศรษฐกิจพอเพียง
                   เป้าประสงค์ ๔.๒ : ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายเครือข่ายพัฒนาที่ดินให้มีศักยภาพ
                        •  จ านวนกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนา           ๓.๓๑    ๐.๗๕๑    ปานกลาง
                   เป้าประสงค์๔.๓ : ส่งเลริมกิจกรรมพัฒนาที่ดินในท้องที่ผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชนเกษตรกร

                          •  ร้อยละของหมอดินอาสาและกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนาอย่าง  ๓.๘๒   ๐.๖๘๖   มาก
                           ต่อเนื่อง
                   เป้าประสงค์ ๔.๔ : เผยแพร่องค์ความรู้การพัฒนาที่ดินสู่เกษตรกรท้องถิ่น
                        •  จ านวนเครือข่ายองค์กรความร่วมมือต่างๆด้านการพัฒนาที่ดินที่สร้างขึ้น  ๓.๔๒   ๐.๗๐๔   ปานกลาง

                                                 รวม                              ๓.๖๖    ๐.๖๕๓      มาก

                                             (6)  ความคิดเห็นเกี่ยวกับ “กลยุทธ์ และ โครงการคิดริเริ่ม”

                                                 กลยุทธ์ ผลสรุปความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุมที่มีต่อความเหมาะสม
                                                                                           ̅
                  ของกลยุทธ์ ในร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯที่ได้รับการอนุมัติขั้นต้น พบว่ามีค่าเฉลี่ย (  ) ของระดับความ
                  คิดเห็น เท่ากับ ๓.๘๔ และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) โดยรวมเท่ากับ ๐.๖๖๕ จัดว่าอยู่ในระดับสูง โดย
                  ส่วนใหญ่เห็นด้วยว่า กลยุทธ์ที่ ๓ บูรณาการฟื้นฟูระบบการบริหารจัดการอนุรักษ์ดินและน้ าให้เกิดเอกภาพและ
                                                                       ̅
                  ประโยชน์สูงสุด เป็นกลยุทธ์ที่เหมาะสมมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ย (  ) ของระดับความคิดเห็นของกลยุทธ์ด้านนี้
                  เท่ากับ ๔.๑๑ รองลงมาคือกลยุทธ์ที่ ๑ บริหารจัดการพื้นที่นาร้างเพื่อพัฒนาพื้นที่ท ากินทางการเกษตรอย่าง
                                     ̅
                  ยั่งยืน โดยมีค่าเฉลี่ย (  ) ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๓.๘๖ ซึ่งอยู่ในระดับมาก ส่วนอันดับสุดท้ายคือ
                                                                                     ̅
                  กลยุทธ์ที่ ๕ เกษตรกรเข้าถึงการบริการงานพัฒนาที่ดินอย่างทั่วถึงมีค่าเฉลี่ย (  ) ของระดับความคิดเห็น
                  เท่ากับ ๓.๖๙ ยังคงถือว่าอยู่ในระดับมาก (ดังแสดงในตาราง ๗ - ๑๒)





                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163