Page 159 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 159

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             129





                                                 โครงการคิดริเริ่ม ผลสรุปความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุมที่มีต่อความ
                                                                                                          ̅
                  เหมาะสมของโครงการคิดริเริ่ม ในร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ ที่ได้รับการอนุมัติขั้นต้น พบว่ามีค่าเฉลี่ย ( )
                  ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๓.๖๕ และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) โดยรวมเท่ากับ ๐.๕๔๙ จัดว่าอยู่

                  ในระดับสูง โดยส่วนใหญ่เห็นด้วยว่า โครงการคิดริเริ่ม ข้อ ๑.๑ โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกปาล์ม
                                                                    ̅
                  น้ ามันเป็นโครงการคิดริเริ่มที่เหมาะสมมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับความคิดเห็นของด้านนี้เท่ากับ ๔.๓๔
                                                                                                 ̅
                  รองลงมาคือโครงการคิดริเริ่มข้อ ๑.๒โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าวโดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับ
                  ความคิดเห็น เท่ากับ ๔.๒๘ ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนอันดับสุดท้ายคือ โครงการคิดริเริ่มข้อ ๕.๑. โครงการ
                                             ̅
                  คลินิกเกษตรเคลื่อนที่มีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๓.๑๑ ถือว่าอยู่ในระดับน้อย (ดังแสดงใน
                  ตาราง ๗ - ๑๒)

                  ตาราง ๗ - ๑๒  ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของกลยุทธ์
                                และโครงการคิดริเริ่ม ในร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ ที่ได้รับการอนุมัติขั้นต้น

                                                                                                   ระดับความ
                                         กลยุทธ์และโครงการคิดริเริ่ม                 ̅      S.D.

                                                                                                    คิดเห็น
                   ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑ : การพัฒนาและฟื้นฟูนาร้างเพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นดิน
                      กลยุทธ์ที่ ๑ บริหารจัดการพื้นที่นาร้างเพื่อพัฒนาพื้นที่ท ากินทางการเกษตรอย่างยั่งยืน                                                                                                                                                                                      ๓.๘๖  ๐.๕๔๗   มาก
                           ๑.๑ โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกปาล์มน้ ามัน   ๔.๓๔  ๐.๔๘๘      มากที่สุด
                           ๑.๒ โครงการปรับปรุงพื้นที่นาร้างเพื่อปลูกข้าว           ๔.๒๘  ๐.๕๐๔      มากที่สุด
                   ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒ : ขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ท าการเกษตรให้มีความอุดมสมบูรณ์
                      กลยุทธ์ที่ ๒ ขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ท าการเกษตรให้มีความอุดมสมบูรณ์   ๓.๗๖  ๐.๕๖๔   มาก
                           ๒.๑ โครงการปรับปรุงคุณภาพดิน                            ๓.๖๑  ๐.๗๓๘        มาก
                           ๒.๒ การพัฒนาที่ดินในพื้นที่เฉพาะ (ทะเลสาบสงขลา กุ้งกุลาด า)   ๓.๘๑  ๐.๕๓๓   มาก
                      กลยุทธ์ที่ ๓ บูรณาการฟื้นฟูระบบการบริหารจัดการอนุรักษ์ดินและน้ าให้เกิด  ๔.๑๑  ๐.๔๗๗   มาก
                                เอกภาพและประโยชน์สูงสุด
                           ๓.๑ โครงการระบบอนุรักษ์ดินและน้ าพื้นที่ลุ่ม - ดอน (เขตพัฒนาที่ดิน)   ๓.๗๙  ๐.๖๒๑   มาก
                           ๓.๒ โครงการการก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน    ๓.๘๒  ๐.๕๔๓        มาก
                           ๓.๓ โครงการพัฒนางานระบบส่งน้ าในไร่นา                   ๓.๑๘  ๐.๔๓๗       น้อย
                           ๓.๔ โครงการพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก                       ๓.๓๑  ๐.๗๒๔      ปานกลาง
                   ประเด็นยุทธศาสตร์ ๓ : น้อมน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมให้เกิดความยั่งยืน
                      กลยุทธ์ที่ ๔ ส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอาชีพของเกษตรกรโดยใช้ปรัชญา  ๓.๗๗  ๐.๖๓๔   มาก
                                เศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร
                           ๔.๑ โครงการศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง   ๓.๙๗  ๐.๔๐๒   มาก
                           ๔.๒ โครงการส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้เคมีทางการเกษตร/  ๓.๘๒  ๐.๖๔๒   มาก
                               เกษตรอินทรีย์
                           ๔.๓ โครงการการพัฒนาที่ดินอันเนื่องมาจากพระราชด าริ      ๔.๐๒  ๐.๕๔๔        มาก
                   ประเด็นยุทธศาสตร์ ๔ : การสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมบนรากฐานของการมีส่วนร่วม

                      กลยุทธ์ที่ ๕ เกษตรกรเข้าถึงการบริการงานพัฒนาที่ดินอย่างทั่วถึง   ๓.๖๙  ๐.๘๐๖    มาก
                           ๕.๑ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่                        ๓.๑๑  ๐.๗๕๓       น้อย
                           ๕.๒ โครงการการพัฒนาหมอดินอาสาและยุวหมอดิน               ๓.๒๙  ๐.๔๔๖      ปานกลาง
                           ๕.๓ โครงการการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่              ๓.๒๖  ๐.๗๗๑      ปานกลาง
                                           รวมคะแนนด้านกลยุทธ์                     ๓.๘๔  ๐.๖๖๕       มาก
                                       รวมคะแนนด้านโครงการริเริ่มใหม่              ๓.๖๕  ๐.๕๔๙       มาก


                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164