Page 154 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 154

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             124




                                                                                   ̅
                  สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาซึ่งเป็นโอกาสมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับความคิดเห็นของ
                  โอกาสด้านนี้ เท่ากับ ๔.๓๑
                                                 รองลงมาคือโอกาสด้านเศรษฐกิจพอเพียงช่วยในการน านวัตกรรม
                                                          ̅
                  เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินมาใช้โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๓.๙๗ ซึ่งอยู่ในระดับมาก
                  ส่วนอันดับสุดท้าย คือ โอกาสด้านพรบ.พัฒนาที่ดิน ๒๕๕๑ ช่วยให้มีการพัฒนาพื้นที่เกษตรโดยเฉพาะนาร้าง
                              ̅
                  โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๓.๙๑ ซึ่งยังถือว่าอยู่ในระดับมาก

                  ตาราง ๗ - ๕   ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของโอกาส
                               ที่ระบุในร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ ที่ได้รับอนุมัติขั้นต้น

                  ล าดับ            โอกาส (Opportunities)              ̅        S.D.      ระดับความคิดเห็น

                    ๑    พรบ.พัฒนาที่ดิน ๒๕๕๑ ช่วยให้มีการพัฒนาพื้นที่เกษตร  ๓.๙๑   ๐.๘๐๕      มาก
                         โดยเฉพาะนาร้าง
                    ๒    เศรษฐกิจพอเพียงช่วยในการน านวัตกรรมเทคโนโลยีการ  ๓.๙๗   ๐.๖๐๕         มาก
                         พัฒนาที่ดินมาใช้
                    ๓    แหล่งเรียนรู้จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ  ๔.๓๑   ๐.๔๒๗       มากที่สุด
                         สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาภาคเกษตรกรรม
                         อย่างยั่งยืน
                                         รวม                          ๔.๐๖     ๐.๖๖๓          มากที่สุด

                                              (ง)  ความคิดเห็นเกี่ยวกับ “อุปสรรค”
                                                 ผลสรุปของความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุมที่มีต่อความเหมาะสมของ
                                                                                                          ̅
                  อุปสรรคต่อร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯที่ได้รับการอนุมัติขั้นต้น (ดังแสดงในตาราง ๗ - ๖) พบว่า ค่าเฉลี่ย ( )
                  ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๓.๙๖ และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) โดยรวมเท่ากับ ๐.๔๘๗ จัดว่าอยู่
                  ในระดับสูง โดยส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าอุปสรรคทางด้านความขัดแย้งและเหตุการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัด
                                                                ̅
                  ชายแดนภาคใต้ซึ่งเป็นอุปสรรคมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย (  ) ของระดับความคิดเห็นของอุปสรรคด้านนี้ เท่ากับ
                                                                                                 ̅
                  ๔.๓๔ รองลงมาคืออุปสรรคด้านการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลท าให้นโยบายไม่ต่อเนื่อง โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับ
                  ความคิดเห็น เท่ากับ ๔.๑๒ ซึ่งอยู่ในระดับมาก ส่วนอันดับสุดท้ายคือ อุปสรรคด้านการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ
                                                              ̅
                  การใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไม่เหมาะสมโดยมีค่าเฉลี่ย (  ) ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๓.๖๖ ซึ่งยังถือว่าอยู่
                  ในระดับมาก

                  ตาราง ๗ - ๖   ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของอุปสรรค
                               ที่ระบุในร่างแผนยุทธศาสตร์ฯที่ได้รับอนุมัติขั้นต้น

                                                                              ̅
                   ล าดับ                 อุปสรรค (Threats)                          S.D.    ระดับความคิดเห็น
                     ๑    พรบ.พัฒนาที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไม่ได้ประกาศใช้ให้ครอบคลุมพื้นที่  ๓.๗๕  ๐.๕๗๒   มาก
                          เสียหายท าให้พื้นที่เกษตรกรรมชั้นดีจะถูกท าลายเป็นพื้นที่
                          อุตสาหกรรม
                     ๒    การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไม่เหมาะสม   ๓.๖๖  ๐.๔๑๒   มาก
                     ๓    การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลท าให้นโยบายไม่ต่อเนื่อง       ๔.๑๒  ๐.๓๑๒          มาก
                     ๔    ความขัดแย้งและเหตุการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดน  ๔.๓๔  ๐.๓๔๐   มากที่สุด
                          ภาคใต้
                                             รวม                            ๓.๙๖  ๐.๔๘๗           มาก


                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159