Page 153 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 153

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             123





                  ตาราง ๗ - ๓   ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของจุดแข็ง
                               ที่ถูกก าหนดในร่างแผนยุทธศาสตร์ฯที่ได้รับอนุมัติขั้นต้น

                   ล าดับ              จุดแข็ง (Strengths)                ̅      S.D.      ระดับความคิดเห็น

                    ๑     พื้นที่เหมาะสมมีศักยภาพในการพัฒนาปาล์มน้ ามันและ  ๔.๑๙   ๐.๓๙๔        มาก
                          แหล่งพลังงานทดแทนไบโอดีเซล
                    ๒     ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศมีความเหมาะสมต่อการ  ๔.๑๖   ๐.๔๔๓         มาก
                          ต่อการผลิตพืชเศรษฐกิจ
                    ๓     มีด่านชายแดน ๙ ด่าน ที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นจุด  ๓.๗๘   ๐.๘๘๑       มาก
                          เชื่อมโยงกลุ่มประเทศ IMT - GT (Indonesia - Malaysia -
                          Thailand Growth Triangle)
                    ๔     มีอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่รองรับวัตถุดิบทางการเกษตร   ๓.๒๗   ๐.๖๑๗    ปานกลาง
                   รวม                       ๓.๘๕                       ๐.๕๖๖     มาก

                                             (ข)  ความคิดเห็นเกี่ยวกับ “จุดอ่อน”

                                                 ผลสรุปของความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุมที่มีต่อความเหมาะสมของ
                                                                                                          ̅
                  จุดอ่อน ของร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ ที่ได้รับการอนุมัติขั้นต้น (แสดงดังตาราง ๗ - ๔) พบว่ามีค่าเฉลี่ย ( )
                  ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๔.๐๐ และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) โดยรวมเท่ากับ ๐.๗๒๙ จัดว่าอยู่
                  ในระดับสูง โดยส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าจุดอ่อนทางด้านปัญหานาร้างส่งผลกระทบถึงความมั่นคงของอาหาร ซึ่ง
                                                ̅
                  เป็นจุดอ่อนมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย (  ) ของระดับความคิดเห็นของจุดอ่อนด้านนี้ เท่ากับ ๔.๓๔
                                                 รองลงมาคือจุดอ่อนด้านขาดการบูรณาการระหว่างภาคเกษตรกร ส่วน
                                      ̅
                  ราชการ โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๔.๒๘ ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด
                                                 ส่วนอันดับสุดท้ายคือ จุดอ่อนด้านฐานการผลิตแคบ เนื่องจากยังพึ่งพา
                                                                                                      ̅
                  การผลิตภาคเกษตรเพียงไม่กี่ชนิด รวมทั้งขาดการพัฒนาการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของ
                  ระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๓.๒๔ ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับปานกลาง

                  ตาราง ๗ - ๔   ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของจุดอ่อน
                               ที่ระบุในร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ ที่ได้รับอนุมัติขั้นต้น

                    ล าดับ               จุดอ่อน (Weakness)                 ̅       S.D.    ระดับความคิดเห็น

                     ๑     ปัญหาการขาดความอุดมสมบูรณ์ของดิน ท าให้ผลผลิตต่อไร่ต่ า  ๔.๑๔   ๐.๗๕๒   มาก
                     ๒     ปัญหานาร้างส่งผลกระทบถึงความมั่นคงของอาหาร      ๔.๓๔    ๐.๖๙๙        มากที่สุด
                     ๓     ขาดการบูรณาการระหว่างภาคเกษตรกร ส่วนราชการ      ๔.๒๘    ๐.๗๖๖        มากที่สุด
                     ๔     ฐานการผลิตแคบ เนื่องจากยังพึ่งพาการผลิตภาคเกษตรเพียง  ๓.๒๔   ๐.๕๕๖   ปานกลาง
                           ไม่กี่ชนิด รวมทั้งขาดการพัฒนาการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า
                                            รวม                            ๔.๐๐    ๐.๗๒๙          มาก

                                             (ค)  ความคิดเห็นเกี่ยวกับ “โอกาส”

                                                 ผลสรุปของความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุมที่มีต่อความเหมาะสมของ
                  โอกาส ของร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ ที่ได้รับการอนุมัติขั้นต้น (ดังแสดงตามตาราง ๗ - ๕) พบว่า มีค่าเฉลี่ย
                   ̅
                  ( ) ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๔.๐๖ และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) โดยรวมเท่ากับ ๐.๖๖๓ จัด
                  ว่าอยู่ในระดับสูง โดยส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าโอกาสทางด้านแหล่งเรียนรู้จากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ



                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158