Page 162 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 162

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             132




                                                       ̅
                  ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับความคิดเห็นของด้านนี้ เท่ากับ ๔.๓๒ ๔.๒๘และ
                  ๔.๒๖ ตามล าดับ
                            รองลงมาคือความคิดเห็นที่เห็นด้วยในระดับที่มากรวม ๔ ข้อ คือข้อ ๑๑ (การเร่งรัดการด าเนินงาน

                  โครงการส าคัญ อาทิ โครงการฟื้นฟูนาร้างเพื่อปลูกปาล์ม ฯลฯ) ข้อ ๘ (การสร้างความรู้และความเข้าใจให้แก่
                  นักวิชาการและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ต่อบริบทพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้) ข้อ ๕ (การขับเคลื่อน
                  นโยบายการน าแผนยุทธศาสตร์ฯสู่การปฏิบัติควรยึดหลัก “แนวทางเกษตรกรเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา)
                  และข้อ ๔ (การสื่อสารสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกันของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการน าแผนยุทธศาสตร์สู่การ
                                     ̅
                  ปฏิบัติ) โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๔.๑๙ ๔.๐๘ ๓.๕๖ และ ๓.๔๒ ตามล าดับ ซึ่งอยู่ใน
                  ระดับมาก
                            ส่วนอันดับสุดท้าย คือความคิดเห็นที่เห็นด้วยในระดับน้อย มี ๑ ข้อ คือข้อ ๙การสร้างกลไกการ
                                                                                       ̅
                  ก ากับ เร่งรัด และติดตาม ผลการปฏิบัติงานตามแผนยุทธศาสตร์ฯ โดยมีค่าเฉลี่ย ( ) ของระดับความคิดเห็น
                  เท่ากับ ๒.๔๓ ถือว่าอยู่ในระดับน้อย (ดังแสดงในตาราง ๗ - ๑๕ และแผนภาพ ๗ - ๔)

                  ตาราง ๗ - ๑๕  ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นที่มีต่อข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการ
                                น าร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯที่ได้รับการอนุมัติขั้นต้นไปสู่การปฏิบัติ


                                                                                                      ระดับ
                       ความคิดเห็นที่มีต่อข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการน าร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ   ค่าเฉลี่ย   S.D.   ความ
                                                                                       ̅
                                             ไปสู่การปฏิบัติ                          ( )
                                                                                                     คิดเห็น
                   (๑)  น้อมน ายุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และปรัชญาเศรษฐกิจ  ๔.๓๒  ๐.๔๗๓  มากที่สุด
                       พอเพียงและหลักรัฐประศาสนโยบายของรัชกาลที่ ๖ มาเป็นแนวทางนโยบายการ
                       น าแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
                   (๒)  สร้างกลไกการท างานและความร่วมมือโดยการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่  ๔.๒๘   ๐.๓๗๑  มากที่สุด
                       เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายการน าแผนยุทธศาสตร์
                       ฯสู่การปฏิบัติ
                   (๓)  การขับเคลื่อนนโยบายการน าแผนยุทธศาสตร์ฯสู่การปฏิบัติงาน ค านึงถึงหลักความ  ๓.๔๒  ๐.๕๒๔  ปานกลาง
                       โปร่งใส นิติธรรม และธรรมาภิบาล
                   (๔)  การสื่อสารสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกันของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการน าแผน  ๓.๕๖  ๐.๓๔๗   มาก
                       ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
                   (๕)  การขับเคลื่อนนโยบายการน าแผนยุทธศาสตร์ฯสู่การปฏิบัติควรยึดหลัก “แนวทาง  ๓.๖๒  ๐.๕๖๖   มาก
                       เกษตรกรเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา”
                   (๖)  การเสริมสร้างพื้นที่และสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมที่เอื้ออ านวยต่อการน าแผน  ๔.๒๖  ๐.๖๕๗  มากที่สุด
                       ยุทธศาสตร์ฯสู่การปฏิบัติ เช่น การสร้างการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและประชาชน
                       ในพื้นที่ การสร้างเวทีการพูดคุย แลกเปลี่ยน และความเห็นต่างด้วยสันติวิธี เป็นต้น
                   (๗)  การสร้างขวัญและก าลังใจ รวมถึงความมั่นใจต่อความปลอดภัยของนักวิชาการและ  ๓.๓๕  ๐.๓๔๑  ปานกลาง
                       เจ้าหน้าที่ของกรมพัฒนาที่ดินที่ปฏิบัติงานในพื้นที่
                   (๘)  การสร้างความรู้และความเข้าใจให้แก่นักวิชาการและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่  ๔.๐๘  ๐.๕๖๓   มาก
                       ต่อบริบทพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น ศาสนา ภาษา ศิลปะ พหุวัฒนธรรม
                       ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น อัตลักษณ์ และวิถีชุมชน เพื่อที่จะสามารถใช้ความรู้ดังกล่าว
                       เป็นเครื่องมือในการผสมผสานมาตรการทางนโยบายเข้ากับการปฏิบัติงานตามแผน
                       ยุทธศาสตร์ฯ อย่างเหมาะสม
                   (๙)  การสร้างกลไกการก ากับ เร่งรัด และติดตาม ผลการปฏิบัติงานตามแผนยุทธศาสตร์ฯ  ๒.๔๓  ๐.๒๓๔   น้อย
                       เพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนยุทธวิธีการด าเนินงานให้เหมาะสมกับสถานะการณ์การ
                       เปลี่ยนแปลง



                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167