Page 157 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 157

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             127





                  ตาราง ๗ - ๑๐  ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของเป้าประสงค์
                                ในร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ ที่ได้รับการอนุมัติขั้นต้น

                                                                                                  ระดับความ
                                                                                 ̅
                                          เป้าประสงค์ (Goals)                            S.D.
                                                                                                   คิดเห็น
                   ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑ : การพัฒนาและฟื้นฟูนาร้างเพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นดิน
                        เป้าประสงค์ ๑.๑ :  จัดท าแผนการใช้ที่ดินนาร้างเพื่อการเกษตร   ๓.๙๒   ๐.๔๔๑   มาก
                        เป้าประสงค์ ๑.๒ :  ส่งเสริมเกษตรกรผลิตตามความเหมาะสมของดิน   ๓.๘๔   ๐.๖๖๓   มาก
                   ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒ : ขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ท าการเกษตรให้มีความอุดมสมบูรณ์
                        เป้าประสงค์ ๒.๑ : พัฒนากระบวนการอนุรักษ์ดินและน้ าและปรับปรุง  ๓.๓๕   ๐.๕๘๓   ปานกลาง
                                      ดินในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้สอดคล้องกับ
                                      สภาพพื้นที่
                   ประเด็นยุทธศาสตร์ ๓ : น้อมน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมให้เกิดความยั่งยืน
                        เป้าประสงค์ ๓.๑ : เกษตรกรน าความรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใช้  ๔.๐๒   ๐.๗๔๗   มาก
                                      ในการพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรม
                   ประเด็นยุทธศาสตร์ ๔ :  การสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมบนรากฐานของการมีส่วนร่วม
                        เป้าประสงค์ ๔.๑ : ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายเครือข่ายพัฒนาที่ดินให้  ๓.๗๕   ๐.๖๒๑   มาก
                                      มีศักยภาพ
                        เป้าประสงค์ ๔.๒ : ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาที่ดินในท้องที่ผ่าน  ๓.๘๘   ๐.๗๐๕     มาก
                                      กระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชนเกษตรกร
                        เป้าประสงค์ ๔.๓ : เผยแพร่องค์ความรู้การพัฒนาที่ดินสู่เกษตรกรท้องถิ่น  ๓.๒๕   ๐.๕๕๙   ปานกลาง
                                                 รวม                          ๓.๗๒      ๐.๖๔๒       มาก

                                             (5)  ความคิดเห็นเกี่ยวกับ “ตัวชี้วัด (Indicators)”
                                                 ผลสรุปความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุมที่มีต่อความเหมาะสมของ
                                                                                ̅
                  ตัวชี้วัดในร่างแผนพัฒนายุทธศาสตร์ฯ ที่ได้รับอนุมัติขั้นต้นพบว่ามีค่าเฉลี่ย (  ) ของระดับความคิดเห็นเท่ากับ
                  ๓.๖๖ และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  (SD)  โดยรวมเท่ากับ ๐.๖๕๓ จัดว่าอยู่ในระดับสูง โดยส่วนใหญ่เห็น
                  ด้วยว่าตัวชี้วัดเรื่องร้อยละความส าเร็จของโครงการพัฒนาที่ดินอันเนื่องจากพระราชด าริจะเป็นตัวชี้วัดที่
                                              ̅
                  เหมาะสมมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย (  ) เท่ากับ ๔.๓๑รองลงมาคือตัวชี้วัด ด้านร้อยละความส าเร็จของโครงการ
                                                                          ̅
                  ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีค่าเฉลี่ย (  ) เท่ากับ ๓.๙๒ ซึ่งอยู่ในระดับมาก
                                                 ส่วนอันดับสุดท้าย คือ ตัวชี้วัดด้านจ านวนกลุ่มเครือข่ายเกษตรกรที่ได้รับ
                                                                     ̅
                  การพัฒนาเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์มีค่าเฉลี่ย (  ) ของระดับความคิดเห็น เท่ากับ ๓.๒๗ ยังคง
                  ถือว่าอยู่ในระดับปานกลาง ดังแสดงในตาราง ๗ - ๑๑




















                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162