Page 22 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       10


                         3.8 สภาพสมดุลน ้าเพื่อการเกษตร

                         สมดุลน  าเพื่อการเกษตรหมายถึง การคาดคะเนค่าศักย์การคายระเหยของน  าจากดินและการ

                 คายน  าของพืช หรือเรียกว่าค่า 0.5 ศักย์การคายระเหย (Potential Evapotranspiration : 0.5 PET) ซึ่งจะ

                 สัมพันธ์กับปริมาณน  าฝน อุณหภูมิและค่าความชื นสัมพัทธ์ สามารถใช้ค่า PET พิจารณาช่วงระยะเวลาที่

                 เหมาะสมในการปลูกพืช จากความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน  าฝนที่แสดงถึงจ านวนน  าที่ได้รับเข้ามาและ

                 ค่าศักย์การคายระเหยของน  าที่แสดงถึงปริมาณน  าที่สูญเสียไป ถ้าค่าปริมาณน  าฝนเท่ากับค่าศักย์การคาย

                 ระเหยของน  า จะแสดงถึงช่วงการขาดแคลนน  าและไม่มีน  ามากเกินพอ แต่ถ้าค่าปริมาณน  าฝนสูงกว่าค่าศักย์

                 การคายระเหยของน  า แสดงว่ามีน  าหลงเหลือในดินท าให้เกิดช่วงน  ามากเกินพอ แต่ถ้าค่าปริมาณน  าฝนต่ ากว่า

                 ค่าศักย์การคายระเหยของน  า แสดงว่าเป็นช่วงการขาดแคลนน  า (ณรงค์, 2537)

                         3.9 พื นที่จัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้า

                         พื นที่จัดระบบอนุรักษ์ดินและน  าหรือพื นที่ด าเนินการ หมายถึง พื นที่ที่ถูกคัดเลือกว่ามีความ

                 เหมาะสมในการพัฒนา อันเนื่องมาจากสภาพปัญหาค่อนข้างมากที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเกษตร ได้แก่

                 ปัญหาด้านการขาดแคลนแหล่งน  าเพื่อการเกษตร ปัญหาความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า ปัญหาการชะล้าง

                 พังทลายของดิน อันส่งผลให้ผลผลิตพืชตกต่ า นอกจากนี ยังหมายถึงพื นที่ที่เกษตรกรเข้าใจและพร้อมเข้าร่วม

                 กิจกรรมการพัฒนาพื นที่นั นด้วย ซึ่งโดยทั่วไปพื นที่ด าเนินการจะมีขอบเขตวงรอบที่แตกต่างกันไปตามสภาพ

                 ภูมิประเทศ สภาพของปัญหา ความต้องการศึกษาพื นที่และงบประมาณในการด าเนินการ (ค ารณ, 2552)

                 หรือในอีกความหมายหนึ่ง ได้กล่าวถึงพื นที่ด าเนินการว่า เป็นพื นที่หมู่บ้านพัฒนาที่ดินที่มีการพัฒนาการใช้

                 ประโยชน์ที่ดินระดับไร่นา ให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากที่ดินอย่างเหมาะสมและยั่งยืน ลดความเสี่ยง

                 กระจายรายได้และลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร โดยการผสมผสานงานโครงการและกิจกรรมต่างๆ ของ

                 กรมพัฒนาที่ดิน ร่วมด าเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื นที่เดียวกันเป็นผืนใหญ่ เพื่อเป็นแกนกลางใน

                 การถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อไป (กรมพัฒนาที่ดิน, 2541)

                         3.10 เขตพัฒนาที่ดิน

                         เขตพัฒนาที่ดิน หมายถึง พื นที่ลุ่มน  าขนาดเล็กหรือพื นที่ด าเนินการที่ได้รับการคัดเลือกให้พัฒนา

                 โดยการบูรณาการกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น การส ารวจและวางแผนการใช้ที่ดิน การจัดท าระบบอนุรักษ์ดิน

                 และน  า การพัฒนาแหล่งน  า การปรับปรุงบ ารุงดินที่มีปัญหาเกี่ยวกับดินเปรี ยวจัด ดินเค็ม ดินตื น ดินทราย ดิน

                 อินทรีย์ ดินเป็นกรด และดินในพื นที่ลาดชันสูง รวมทั งการฟื้นฟูดินเสื่อมโทรมในพื นที่ที่ดินขาดอินทรียวัตถุ

                 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ของทรัพยากรดินให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

                 ตลอดจนเป็นการสาธิตให้เกษตรกรและประชาชนได้เห็นถึงประโยชน์ของการพัฒนาที่ดิน การอนุรักษ์ดินและ

                 น  า การฟื้นฟูและการปรับปรุงบ ารุงดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27