Page 19 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         7


                         3.4 ปริมาณน ้าท่า

                         น  าท่า (runoff/stream flow) หมายถึง ปริมาณน  าในล าธารที่เกิดจากน  าฝน ผ่านกระบวนการ

                 เก็บกัก ณ จุดต่างๆ ภายในระบบและการระบายลงสู่พื นที่ตอนล่าง โดยแบ่งลักษณะการไหลเป็น 3 ลักษณะ

                 (กรมทรัพยากรน  า, 2551) คือ น  าไหลบ่าหน้าผิวดิน (overland flow) น  าไหลในดิน (inter flow) และน  า

                 ไหลใต้ผิวดิน (subsurface flow) ซึ่งปริมาณการไหลบ่าของน  า (Q) เท่ากับ ผลคูณระหว่าง ค่าสัมประสิทธิ์

                 ของน  าไหลบ่า (C) ปริมาณน  าฝนเฉลี่ยต่อปี (I) (มิลลิเมตรต่อปี) และพื นที่รับน  า (เฮกตาร์) (กรมพัฒนาที่ดิน,

                 2551)

                         3.5 ลุ่มน ้าหลักแม่น ้าชี (รหัส 04)

                         ตั งอยู่บริเวณตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ระหว่างกลางลุ่มน  าหลักแม่น  าโขง (รหัส

                 02) ลุ่มน  าหลักแม่น  ามูล (รหัส 05) และลุ่มน  าหลักแม่น  าป่าสัก (รหัส 12) ครอบคลุมพื นที่ 14 จังหวัด ได้แก่

                 เพชรบูรณ์ เลย ชัยภูมิ หนองบัวล าภู อุดรธานี นครราชสีมา ขอนแก่น มหาสารคาม ศรีสะเกษ กาฬสินธุ์

                 ร้อยเอ็ด มุกดาหาร ยโสธร และอุบลราชธานี มีพื นที่ 49,129.87 ตารางกิโลเมตร หรือ 30,706,169 ไร่

                 ประกอบด้วย 20 ลุ่มน  าสาขา ดังตารางที่ 1 และภาพที่ 1

                         3.6 ลุ่มน ้าสาขาล้าน ้าชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416)

                         เป็นลุ่มน  าสาขาของลุ่มน  าหลักแม่น  าชี (รหัส 04) ตั งอยู่บริเวณตอนปลายของลุ่มน  าหลักแม่น  าชี

                 ที่ทอดตัวในแนวทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก ถัดจากลุ่มน  าสาขาล าน  าชีส่วนที่ 3 (รหัส 0408) ไปทางทิศ

                 ตะวันออก เป็นลุ่มน  าทางตอนล่างของลุ่มน  าหลักแม่น  าชี (รหัส 04) และด้านทิศใต้ติดต่อกับลุ่มน  าสาขาล าน  า

                 ชีตอนล่าง (รหัส 0421) และลุ่มน  าหลักแม่น  ามูล (รหัส 05) บริเวฺณด้านทิศเหนือ หรือบริเวณลุ่มน  าสาขา

                 ล าพังชู (รหัส 0514) ลุ่มน  าสาขาล าเสียวน้อย (รหัส 0519) และลุ่มน  าสาขาล าเสียวใหญ่ (รหัส 0520) มีพื นที่

                 ลุ่มน  าส่วนใหญ่ครอบคลุมพื นที่ตอนบนของจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดร้อยเอ็ด มีพื นที่ส่วนน้อยของลุ่มน  า

                 ที่ครอบคลุมพื นที่จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดกาฬสินธุ์ โดยมีพื นที่รับน  ารวมทั งสิ นประมาณ 5,092.51 ตาราง

                 กิโลเมตร หรือประมาณ 3,182,819 ไร่

                         3.7 การจัดการลุ่มน ้า

                         หมายถึง การจัดการพื นที่เพื่อให้ได้น  าที่มีปริมาณมากพอ เป็นน  าที่มีคุณภาพดี มีการไหลของน  า

                 อย่างสม่ าเสมอ พร้อมทั งการควบคุมเสถียรภาพของดิน ลดผลกระทบที่ก่อให้เกิดความเสียหายจากน  าท่วม

                 และจัดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (เกษม, 2551)
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24