Page 24 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       12


                 ส ารวจดินที่สมบูรณ์ต้องประกอบด้วยแผนที่ดิน และรายงานการส ารวจดิน ที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับชนิดของ

                 ดิน ขอบเขตและการแพร่กระจาย ลักษณะและสมบัติของดิน ลักษณะของพื นที่อื่นๆ และการแปลความหมาย

                 ของข้อมูลดินและสภาพแวดล้อม เพื่อใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ต่างๆ ได้แก่ เกษตรกรรม วิศวกรรม

                 ชลประทาน ป่าไม้ และสิ่งแวดล้อม (ส่วนมาตรฐานการส ารวจจ าแนกดินและที่ดิน, 2547) โดยการส ารวจดิน

                 สามารถจ าแนก ตามความละเอียดของการส ารวจดังนี

                                1) การส ารวจดินแบบละเอียด (detailed survey) เป็นการส ารวจดินในระดับไร่นา หรือ

                 ในพื นที่โครงการขนาดเล็กที่ต้องการพัฒนาอย่างประณีต สามารถจัดท าแผนการจัดการที่ดินที่สามารถน าไป

                 ปฏิบัติจริงในพื นที่ได้ ดังนั นจ าเป็นต้องมีการบันทึกข้อมูลที่ค่อนข้างละเอียดกว่าระดับการส ารวจดินที่ผ่านมา

                 และมีการตรวจสอบขอบเขตของดินให้มีความถูกต้องมาก แผนที่ที่ใช้ในการส ารวจดินในสนามมีมาตราส่วน

                 อยู่ระหว่าง 1 : 5,000 ถึง 1 : 30,000 แผนที่ดินที่พิมพ์ออกเผยแพร่มีมาตราส่วนอยู่ระหว่าง 1 : 10,000 ถึง

                 1 : 30,000 หรือมาตราส่วนใหญ่กว่า ขอบเขตของดินจะเน้นการตรวจสอบดินในสนามให้มากขึ น แต่จะอาศัย

                 รูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียมช่วยในการเขียนขอบเขตดิน ระยะในการตรวจสอบสมบัติของดิน

                 ไม่ควรห่างกันเกิน 250 เมตรต่อหนึ่งจุด (50-80 ไร่ต่อ 1 จุด) หน่วยแผนที่ที่ใช้ ส่วนใหญ่เป็นหน่วยเดี่ยว

                 (consociations) โดยเป็นประเภทของชุดดินหรือดินคล้าย (phases of soil series หรือ soil variants)

                 และหน่วยพื นที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous areas) อาจมีหน่วยเชิงซ้อน (complexes) บ้างเล็กน้อย โดย

                 มุ่งเน้นเพื่อน าไปใช้ในการวางแผนอนุรักษ์ดินและน  า การให้น  า การระบายน  า ตลอดจนการจัดระบบปลูกพืช

                 ต่างๆ เพื่อให้การใช้ที่ดินนั นๆ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด รวมทั งใช้เป็นข้อมูลพื นฐานในการ

                 วางแผนการใช้ที่ดิน (land use planing) (ภูษิต, 2550)

                                2) การส ารวจดินค่อนข้างหยาบ (semi-detailed reconnaissance survey) เป็นการ

                 ส ารวจดินเพื่อใช้ข้อมูลในการวางแผนระดับจังหวัดหรือโครงการขนาดใหญ่ เพื่อให้ทราบถึงศักยภาพของพื นที่

                 ในการพัฒนาเบื องต้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการก าหนดพื นที่ที่จะใช้พัฒนา หรือเพื่อศึกษาในรายละเอียด

                 ต่อไป แผนที่ที่ใช้ในการส ารวจดินในสนามมีมาตราส่วนอยู่ระหว่าง 1 : 40,000 ถึง 1 : 100,000 แผนที่ที่พิมพ์

                 เผยแพร่มีขนาดมาตราส่วนอยู่ระหว่าง 1 : 50,000 ถึง 1 : 100,000 ขอบเขตของดินอาศัยการแปลจากรูป

                 ถ่ายทางอากาศ หรือภาพจากดาวเทียม ประกอบกับการตรวจสอบดินในสนาม โดยก าหนดปริมาณจุดเก็บ

                 ตัวอย่างไว้ประมาณ 1-2 ตารางกิโลเมตรต่อ 1 จุด (625-1,250 ไร่ ต่อ 1 จุด) หน่วยแผนที่ที่ใช้ส่วนใหญ่เป็น

                 หน่วยสัมพันธ์ (association) อาจมีหน่วยเชิงซ้อน (complex) หน่วยเดี่ยว (consociatations) และหน่วย

                 ศักย์เสมอ (undifferentiated group) บ้าง

                                3) การส ารวจดินระดับหยาบ (reconnaissance survey) เป็นการส ารวจดินเพื่อใช้ข้อมูล

                 ในการวางแผนระดับภาคหรือระดับประเทศ เพื่อให้ทราบถึงศักยภาพของพื นที่ในการพัฒนา และใช้เป็น
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29