Page 17 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
5
ปรากฏการณ์น าท่วม และคุณลักษณะของล าน าหลัก ตลอดจนการไหลของน าในล าธารหลัก สามารถจ าแนก
ล าดับพื นที่ลุ่มน าออกได้เป็น 3 ส่วน ได้แก่ พื นที่ต้นน า กลางน า และปลายน า (ค ารณ, 2552)
พื นที่ต้นน ้า หมายถึง พื นที่ตอนบนของลุ่มน า มักเป็นพื นที่สูงหรือบริเวณ เทือกเขาและภูเขาต่างๆ
ที่มีผลท าให้ฝนที่ตกในบริเวณดังกล่าวไหลลงสู่พื นที่ตอนล่างอย่างรวดเร็วในฤดูฝน (กรมทรัพยากรน า, 2551)
เป็นลุ่มน าที่อยู่บนที่สูงบริเวณที่เป็นต้นก าเนิดของห้วยธารสายแรกๆ ส่วนใหญ่จะเป็นพื นที่สูงชัน ปกคลุมไป
ด้วยป่าไม้และมีฝนตกชุก มีคุณสมบัติเหมาะที่จะรองรับน าฝน สามารถดูดซับและกักเก็บน าเป็นปริมาณมาก
ไปไว้เป็นน าใต้ดิน เปรียบเสมือนอ่างเก็บน าธรรมชาติที่ค่อยๆ ปลดปล่อยให้น า ไหลซึม หล่อเลี ยงล าธารให้มี
น าไหลสม่ าเสมอตลอดปี (นิวัต, 2547)
พื นที่กลางน ้า เป็นพื นที่ต่ ากว่าพื นที่ต้นน า มีความลาดชันน้อยกว่าพื นที่ต้นน าอย่างชัดเจน ส่งผล
ต่อการไหลของน าในล าน าหลักจะช้าลง แต่พื นที่ล าธารมีขนาดกว้างขึ น อันดับล าธาร จะเป็นอันดับ 2 และ
อันดับ 3 และอาจพบล าธารอันดับ 1 บ้าง แม่น าจะกว้างขึ นจากรูป V-shape เป็น U-shape สภาพพื นที่ส่วน
ใหญ่เป็นพื นที่ลอนชันและพื นที่ลอนลาด
พื นที่ปลายน ้า เป็นพื นที่ส่วนที่เป็นแอ่งรับน า (basin) ถึงส่วนที่เป็นปลายสุดของล าน าหลัก หรือ
ปากแม่น า (outlet) ไหลลงสู่แหล่งรับน า เช่น แม่น า บึง ทะเลสาบ มีอันดับล าธารที่ 3 4 และ 5 เป็น
องค์ประกอบ มีสภาพพื นที่ค่อนข้างราบเรียบ ลักษณะแม่น าในเขตปลายน าจะกว้างและคดเคี ยว
และพบร่องรอยทางน าเก่า
3.3 แบบรูปทางน ้า (drainage pattern)
ทางน าไหล หมายถึง เป็นลักษณะทิศทางการไหลของแม่น าในแนวระนาบ ซึ่งแม่น าแต่ละสายจะมี
ลักษณะเฉพาะตัว การไหลของกระแสน าจะเป็นผลมาจากความลาดเทของพื นที่ ความแข็งของโครงสร้างของ
หินและการไหวตัวของเปลือกโลก เช่น การเกิดภูเขาไฟ การยกตัวของพื นที่ ซึ่งท าให้ทราบความเป็นมาของ
พื นที่นั นๆ (อภิสิทธิ์, 2530)
แบบรูปทางน าแต่ละล าธารอาจจะแบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ
3.3.1 ล าธารตรง (straight stream) เป็นล าธารที่มีลักษณะตรง พบมากบริเวณต้นแม่น า
3.3.2 ล าธารโค้งตวัด (crooked or meander stream) เป็นล าธารที่คดเคี ยวไปมา
3.3.3 ล าธารเกลียวเชือกหรือล าธารหนวด (braided stream) ส่วนมากพบบริเวณตอน
ปลายของธารน าแข็ง โดยพื นแม่น าจะเป็นกรวดและทรายขนาดใหญ่ โดยเมื่อล าธารเรียงตัวต่อเนื่องกัน
สามารถท าให้เกิดทางไหลของน า ดังนี
1) แบบรูปทางน ากิ่งไม้ (dendritic drainage pattern) เป็นรูปแบบที่มีลักษณะไม่
สม่ าเสมอ การไหลไม่มีทิศทางแน่นอน มุมไม่สม่ าเสมอ ส่วนมากเกิดบนหินที่มีความแข็งสม่ าเสมอ เช่น