Page 18 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
6
หินดินดาน หรือตะกอนใหม่ การไหลของกระแสน าไม่สัมพันธ์กับโครงสร้างที่รองรับ หากเกิดบนหินตะกอน
ต้องเป็นหินตะกอนที่มีการวางตัวในแนวระนาบ แต่ถ้าเกิดบนหินอัคนีจะต้องเป็นหินอัคนีที่มีความแน่นทึบ
อย่างสม่ าเสมอและไม่มีโครงสร้างชัดเจน ท าให้มีรูปลักษณะคล้ายกิ่งก้านสาขาของต้นไม้
2) แบบรูปทางน ากิ่งขนาน (trellis drainage pattern) เป็นรูปแบบที่มีการไหลขนานกัน
ไป ระหว่างแม่น าสายใหญ่กับสายรอง และสายรองจะหักท ามุมฉากเข้าไปรวมกับสายใหญ่ เช่นการไหลไป
ตามแนวสันหิน พื นที่อาจเกิดจากการทับถมโดยลม ธารน าแข็ง แม่น ามีอายุมากขึ น และถูกควบคุมโดย
โครงสร้างของหิน เช่น รอยเลื่อนหรือการโค้งงอที่หินมีความแข็งความอ่อนสลับกัน แบบแทรลลิสที่เกิดบน
โครงสร้างของหินดังกล่าว จะเกิดได้โดยตอนแรกมีล าธารคอนซีเควนต์ (consequent) ไหลไปตามความลาด
เท แล้วไหลไปตามล าธารสับซีเควนต์ (subsequent) ในเวลาต่อมา และจากความยากง่ายต่อกษัยการของ
หิน ท าให้แม่น าทั งสองสายเชื่อมกัน โดยส่วนโค้งงอจะถูกตัดออก คล้ายๆเป็นลักษณะหนึ่งของแม่น าลัด
ทางเดิน ท าให้มีรูปลักษณะคล้ายเถาองุ่นตามรอยเลื่อน
3) แบบรูปทางน าย้อนแนว (barbed drainage pattern) พบไม่มากนัก เกิดเป็นพื นที่
เล็กๆ จากแม่น าลัดทางเดิน ซึ่งมีส่วนหนึ่งที่คดงอร่วมไปกับส่วนที่เป็นแม่น าอีกสายหนึ่ง ท าให้มีลักษณะโค้ง
งอย้อนกลับทางต้นน าประธานคล้ายตาขอเปิด
4) แบบรูปทางน าตั งฉาก (rectangular drainage pattern) เป็นรูปแบบที่มีแม่น าทุก
สาขาทั งสาขาใหญ่และสาขาย่อยมารวมกันเป็นมุมฉาก ส่วนมากเกิดบนหินที่มีรอบแตกเป็นสี่เหลี่ยม เช่น
หินปูนและหินทราย หรือในหินอัคนีที่มีรอยแตกแบบนี เช่น หินแกรนิตและหินบะซอลส์
5) แบบรูปทางน ารัศมี (radial drainage pattern) เป็นแบบที่มีทางน าสาขาไหลออกจาก
จุดศูนย์กลางเดียวกัน เช่น โดมต่างๆ หรือภูเขาไฟ
6) แบบรูปทางน าสู่ศูนย์กลาง (centripetal drainage pattern) เป็นแบบหนึ่งที่คล้าย
แบบรัศมี แต่มีสาขาไหลเข้าจุดศูนย์กลางเดียวกัน
7) แบบรูปทางน าขนาน (parallel drainage pattern) เป็นแบบที่สาขาไหลขนานกันไป
ส่วนมากเกิดตามริมฝั่งทะเลที่มีความลาดสม่ าเสมอ บางบริเวณควบคุมด้วยโครงสร้างหิน แม่น าจะไหลขนาน
กันไป ทั งสาขาใหญ่และสาขาย่อยและมักมีช่วงห่างเท่าๆกัน
8) แบบรูปทางน าวงแหวน (annular drainage pattern) เป็นแบบที่มีลักษณะคล้ายวง
แหวนเรียงซ้อนกัน พื นที่จะถูกควบคุมโดยโครงสร้างหินแบบโค้งงอและหินมีความแข็งความอ่อนแตกต่างกัน
อาจเป็นรูปแบบที่มีวิวัฒนาการต่อจากแบบทางน ารัศมี