Page 14 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         2


                        ส าหรับรายงานฉบับนี  ได้จัดท าขึ นเพื่อรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ทรัพยากรดิน น  า ป่าไม้และการ

                 ใช้ที่ดิน ในระดับลุ่มน  าสาขาและเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  า เพื่อให้เห็นความสอดคล้องของปัญหา ที่มีความ

                 ต่อเนื่องสัมพันธ์กันระหว่างลุ่มน  าใหญ่กับพื นที่โครงการ หรืออาจกล่าวได้ว่าเพื่อคัดเลือกพื นที่ที่เป็นตัวแทน

                 ของปัญหาของลุ่มน  าใหญ่ เพื่อให้ได้ข้อมูลทรัพยกรของพื นที่ในเชิงลึก อันจะน าไปสู่การก าหนดมาตรการ

                 แก้ไขปัญหาทรัพยากรดิน ก าหนดมาตรการการอนุรักษ์ดินและน  าที่เหมาะสมต่อการใช้ที่ดินให้สอดคล้องตาม

                 ศักยภาพของดิน


                 2. วัตถุประสงค์

                        2.1 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลในพื นที่ลุ่มน  าสาขาล าน  าชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ส าหรับก าหนด

                 เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  า

                        2.2 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลในพื นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  า ส าหรับใช้เป็นข้อมูลในการก าหนด

                 ขอบเขตพื นที่ด าเนินการ

                        2.3 เพื่อศึกษาลักษณะและสมบัติดิน การจ าแนกดิน การจัดชั นความเหมาะสมของดินส าหรับการ

                 ปลูกพืชเศรษฐกิจและประเมินความเหมาะสมของดินทางด้านปฐพีกลศาสตร์ในพื นที่ด าเนินการ

                        2.4 เพื่อจัดท าแผนที่และรายงาน ส าหรับใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการใช้ที่ดินและการจัดท า

                 มาตรการระบบอนุรักษ์ดินและน  า และการปรับปรุงบ ารุงดินตามนโยบายของกรมพัฒนาที่ดิน

                 3. การตรวจเอกสาร

                         3.1 พื นที่ลุ่มน ้า


                         ลุ่มน ้า หมายถึง พื นที่ที่ล้อมรอบด้วยพื นที่ลาดชันจากเส้นสันปันน  า ไหลลงสู่พื นที่ระบายน  า ตั งแต่
                 สองหรือมากกว่าขึ นไป หรือ หมายถึงพื นที่หน่วยหนึ่งซึ่งครอบคลุมล าน  าธรรมชาติ เพื่อท าหน้าที่รวบรวมน  า


                 ให้ไหลลงสู่แม่น  าหนึ่ง ซึ่งพื นที่ลุ่มน  าแต่ละแห่งจะมีขนาดที่แตกต่างกันไป ขึ นอยู่กับสภาพภูมิศาสตร์และ
                 วัตถุประสงค์ในการจัดแบ่งพื นที่เพื่อการบริหารจัดการ โดยทั่วไปลุ่มน  ามีโครงสร้างและองค์ประกอบที่ส าคัญ


                 ได้แก่ ทรัพยากรชีวภาพ ทรัพยากรกายภาพหรือสิ่งที่ไม่มีชีวิต และทรัพยากรทางสังคม และลุ่มน  ามีบทบาท
                 ส าคัญในการเป็นแหล่งให้น  าและการควบคุมการพังทลายของทรัพยากรดินในพื นที่ลุ่มน  า (เกษม, 2551)


                         พื นที่ลุ่มน ้า หมายถึง พื นที่ซึ่งล้อมรอบด้วยสันปันน  า (divide) เป็นพื นที่รับน  าฝนของแม่น  าสาย
                 หลักในลุ่มน  านั นๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื นที่ลุ่มน  า น  าจะไหลลงสู่ล าธารสายย่อยๆ (sub-order) แล้วไหลมา


                 รวมกันออกสู่ล าธารสายใหญ่ (order) มาสู่แม่น  าสายหลัก (mainstream) และไหลออกปากแม่น  า (outlet)

                 ในที่สุด (ค ารณ, 2552) ซึ่งขั นตอนในการจ าแนกพื นที่ลุ่มน  า ได้จ าแนกออกเป็น ทางน  าสายหลัก พร้อม

                 ตรวจสอบชื่อทางน  าในแต่ละช่วง แล้วเขียนแบบรูปทางน  าโดยละเอียด (drainage pattern) และตรวจสอบ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19