Page 13 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 13
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
1
เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน ้าห้วยกุดรัง ลุ่มน ้าสาขาล้าน ้าชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416)
ลุ่มน ้าหลักแม่น ้าชี (รหัส 04) พื นนที่ด้าเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7
บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และ บ้านหนองแสง หมู่ที่ 11
ต้าบลห้วยเตย อ้าเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
1. ค้าน้า
การพัฒนาทรัพยากรดินโดยการจัดท าโครงการเขตพัฒนาที่ดิน เป็นภารกิจหลักตามนโยบายของกรม
พัฒนาที่ดิน ที่ก าหนดให้มีการจัดท าเขตการใช้ที่ดินภายใต้ขอบเขตและหลักการจัดการลุ่มน า โดยมองว่าการ
เปลี่ยนแปลงทรัพยากรดิน น า ป่าไม้ และสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ซึ่งหมายรวมถึง
ระบบการท าการเกษตร มีความสอดคล้องกันเป็นองค์รวม ภายใต้ระบบนิเวศวิทยาลุ่มน าเดียวกัน ซึ่งควรมี
การแก้ปัญหาหรือจัดการในเชิงระบบลุ่มน าเป็นหลัก เพื่อให้การพัฒนาด้านการเกษตรเกิดขึ นในเชิงที่
สอดคล้องและสมดุลกับสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ การพัฒนาการเกษตรภายใต้หลักการดังกล่าว จ าเป็นต้องมีการ
ส ารวจทรัพยากรพื นฐานของพื นที่ เพื่อให้ทราบถึงสภาพของปัญหาในเชิงลึก ทั งทรัพยากรดิน น า ป่าไม้และ
การใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยเฉพาะการส ารวจจ าแนกดินบริเวณพื นที่ด าเนินการ เพื่อให้ได้ข้อมูลพื นฐานในการ
พิจารณาก าหนดมาตรการระบบอนุรักษ์ดินและน าในวิธีต่างๆ ตามความเหมาะสม
พื นที่ด าเนินการบ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และ
บ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ต าบลห้วยเตย อ าเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม ได้ถูกก าหนดให้เป็นพื นที่
ด าเนินการเขตพัฒนาที่ดิน ภายใต้เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน าห้วยกุดรัง ลุ่มน าสาขาล าน าชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416)
ลุ่มน าหลักแม่น าชี (รหัส 04) เนื่องจากพื นที่นี มีปัญหาค่อนข้างมาก ทั งปัญหาทรัพยากรดินที่เป็นดินทราย
เสื่อมโทรม ปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และปัญหาความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า ที่ส่งผลให้เกิดปัญหา
อื่นตามมาด้วย เช่น ปัญหาผลผลิตพืชเกษตรตกต่ า ที่มีผลต่อเกษตรกรผู้มีรายได้น้อย ต้องอพยพแรงงานออก
จากพื นที่เพื่อหารายได้นอกภาคเกษตร เกิดการสร้างหนี สินภาคครัวเรือน และมีแนวโน้มท าให้เกิดปัญหา
สังคมตามมาในที่สุด จากปัญหาดังกล่าว ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 มีความตระหนักและพิจารณาหาแนว
ทางแก้ไข โดยประกาศให้พื นที่ดังกล่าวเป็นโครงการจัดท าเขตพัฒนาที่ดินขึ น และเริ่มด าเนินการโดยกลุ่มวาง
แผนการใช้ที่ดิน ได้เข้าส ารวจทรัพยากรดินและน า การใช้ประโยชน์ที่ดินและส ารวจสภาวะเศรษฐกิจและ
สังคมของพื นที่ เพื่อให้ทราบถึงสภาพปัญหาของพื นที่ และสามารถก าหนดแนวทางแก้ไขข้อจ ากัดดังกล่าวได้
อย่างสอดคล้องตามศักยภาพของพื นที่ อันจะเป็นแนวทางในการด าเนินงานพัฒนาพื นที่เกษตร และน าไปสู่
การพัฒนาเชิงสังคมเกษตรกรต่อไป