Page 30 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 30
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
18
ส้าหรับดินอนินทรีย์หรือดินแร่ที่พบในที่ลุ่มต่้าหรือแอ่งต่้า และเนื้อดิน
บนมีสมบัติใกล้เคียงกับดินมัก (muck) แต่มีปริมาณคาร์บอนอินทรีย์น้อยกว่า มีสีคล้้าและร่วนซุย อุ้ม
ความชื้นได้ดี โดยทั่วไปมีอินทรียวัตถุมากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ และใช้น้าหน้าเพื่อขยายเนื้อดินที่เป็นดินแร่
เรียกว่า มักกี้ (mucky) เช่น ดินร่วนปนมัก (mkl : mucky loam)
ตารางที่ 1 ประเภทเนื้อดินบนที่เป็นดินแร่
ชั นของเนื อดินบน กลุ่มเนื อดินบนระดับกลาง กลุ่มเนื อดินบนระดับหยาบ
(textural classes) (intermediate textural groups) (broad textural groups)
ดินทราย เนื้อดินหยาบ ดินทราย (s : sandy)
(s : sand) (co : coarse textured)
ดินทรายปนดินร่วน
(ls : loamy sand)
ดินร่วนปนทราย เนื้อดินหยาบปานกลาง ดินร่วน (l : loamy)
(sl : sandy loam) (mco : moderately coarse textured)
ดินร่วน เนื้อดินปานกลาง
(l : loam) (m : medium textured)
ดินร่วนปนทรายแป้ง
(sil : silt loam)
ดินทรายแป้ง
(si : silt)
ดินร่วนปนดินเหนียว เนื้อดินละเอียดปานกลาง
(cl : clay loam) (mf : moderately fine textured)
ดินร่วนเหนียวปนทราย
(scl : sandy clay loam)
ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง
(sicl : silty clay loam)
ดินเหนียวปนทราย เนื้อดินละเอียด ดินเหนียว (c : clayey)
(sc : sandy clay) (f : fine textured)
ดินเหนียวปนทรายแป้ง
(sic : silty clay)
ดินเหนียว
(c : clay)