Page 35 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        23





                         3.9 การจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับทางด้านปฐพีกลศาสตร์  เป็นการวินิจฉัยเพื่อหา
                  ระดับความเหมาะสมของดินทางด้านปฐพีกลศาสตร์ ตามวิธีการวินิจฉัยคุณภาพของดินด้านปฐพีกลศาสตร์

                  ตามกลุ่มชุดดินในประเทศไทย (สุวณี, 2538) ซึ่งเป็นการประเมินความเหมาะสมของชุดดินตามสมบัติของ
                  ดินเพื่อการใช้งานด้านปฐพีกลศาสตร์ประเภทต่าง ๆ โดยชนิดของข้อจ้ากัดของดินที่ท้าให้ดินนั้นไม่เหมาะสม

                  อย่างยิ่ง ไม่เหมาะสม เหมาะสมปานกลาง หรือเหมาะสมดีส้าหรับงานทางด้านปฐพีกลศาสตร์เขียนเป็น

                  สัญลักษณ์ภาษาอังกฤษก้ากับท้ายตัวเลข ประกอบด้วย
                                    a : ลักษณะของดินตามการจ้าแนก (subgrade properties)

                                    b : ความหนาของวัสดุที่เหมาะสม (thickness of suitable material)

                                    c : ความลึกถึงชั้นหินพื้น (depth to bedrock)
                                    d : การระบายน้้าของดิน (drainage)

                                    f : อันตรายจากน้้าท่วมหรือน้้าแช่ขัง (flood hazard)
                                    g  :  ปริมาณเศษหิน  ที่มีขนาดใหญ่กว่าทรายหยาบมาก  (fragment  coarser  than

                  very  coarse sand percent)
                                    h : ระดับน้้าใต้ดินในฤดูฝน (depth to seasonal water table)

                                    j : ปฏิกิริยาของดิน (reaction)

                                    k : ความซึมน้้าของดิน (permeability or hydraulic conductivity)
                                    l : ศักยภาพในการยืดและหดตัวของดิน (shrink-swell potential)

                                    m : ความลึกถึงชั้นที่มีการซาบซึมน้้า (depth to permeable material)

                                    o : การกัดกร่อนของท่อเหล็กที่ไม่เคลือบผิว (corrosivity uncoated steel)
                                    p : การมีก้อนหิน  (stoniness)

                                    q : ความลึกถึงชั้นทรายหรือกรวด (depth to sand and gravel)
                                    r : การมีหินโผล่ (rockiness)

                                    s : เนื้อดิน (texture)
                                    t : สภาพภูมิประเทศหรือความลาดชัน (topography or slope)

                                    u : การยึดตัวขณะดินชื้น (moist consistence)

                                    x : ความเค็มของดิน (salinity)
                                3.9.1 หลักเกณฑ์การวินิจฉัยคุณภาพของดินด้านปฐพีกลศาสตร์

                                      1) อาศัยการคาดคะเนจากสมบัติของดินภายใต้สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินและการ

                  จัดการดินตามปกติ
                                      2) การวินิจฉัยสมบัติของดินจะไม่รวมกับปัญหาที่เกี่ยวกับท้าเล เช่น ที่ตั้งใกล้เมือง

                  หรือทางหลวง แหล่งน้้า ขนาดของที่ดินถือครอง
                                      3) การจัดระดับของที่ดินขึ้นอยู่กับลักษณะของดินตามธรรมชาติ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40