Page 32 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        20





                                         4)  ประเภทของการกร่อน (phases of soil erosion)
                                             การกร่อนของดิน หมายถึง การแตกกระจาย (detachment) และการพัด

                  พาไป (transportation) ของดินโดยตัวการการกร่อน เช่น โดยน้้า (water  erosion) หรือโดยลม (wind
                  erosion) การกร่อนของดินแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่


                                              (1)  การกร่อนโดยลม (wind erosion) คือ การท้าให้อนุภาคดินเคลื่อนย้าย
                  จากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่งโดยการกระท้าของลม การกร่อนโดยลมขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ เช่น อุณหภูมิ

                  ความเร็วของลม สภาพภูมิประเทศ สมบัติของดินและการใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่บริเวณที่เกิดการกร่อน

                  ส่วนใหญ่เกิดในพื้นที่แห้งแล้ง ลมแรง เนื้อดินเป็นทรายและไม่มีพืชขึ้นปกคลุม หรือบริเวณพื้นที่แนวแคบๆ
                  ตามหาดทราย ชายทะเล


                                              (2)  การกร่อนโดยน้้า (water erosion) คือ การแตกกระจายและพัดพาโดย
                  น้้า จะยากหรือง่ายขึ้นอยู่กับวัตถุต้นก้าเนิดดิน ระบบการใช้ที่ดินและการจัดการดิน การกร่อนโดยน้้ามีหลาย

                  ชนิด ได้แก่ การกร่อนแบบแผ่น (sheet erosion) การกร่อนแบบริ้ว (rill erosion) การกร่อนแบบร่องธาร
                  (gully erosion) และการกร่อนแบบท่อ (tunnel erosion)


                             ความรุนแรงของการกร่อนแบ่งออกได้เป็น 5 ชั้น ดังนี้

                          สัญลักษณ์                 ค้าอธิบาย                  การสูญเสียของชั้นดิน

                                                                                  (เปอร์เซ็นต์) *
                              E       ไม่มีการกร่อน (non eroded)                       0
                               0
                              E       กร่อนเล็กน้อย (slightly eroded)               > 0 - 25
                               1
                              E       กร่อนปานกลาง (moderately eroded)               25 - 75
                               2
                              E       กร่อนรุนแรง (severe eroded)                     > 75
                               3
                              E       กร่อนรุนแรงมาก (very severe eroded)             100
                               4
                               หมายเหตุ *  หมายถึง  เปอร์เซ็นต์การสูญเสียของชั้นดิน A  และ/หรือชั้นดิน E  หรือการ

                  สูญเสียดินบน 20 เซนติเมตร (ถ้าชั้นดิน A และ/หรือชั้นดิน E ดั้งเดิมมีความหนาน้อยกว่า 20 เซนติเมตร)
                                3.7.12  การเขียนหน่วยแผนที่ดิน

                                       สัญลักษณ์ : ชุดดินหรือดินคล้าย-เนื้อดินบน, ความลาดชัน/ความลึกของดิน, การ
                  กร่อน (soil series or soil variants - surface texture, slope / depth, erosion)

                                       ตัวอย่าง Ws-clD/d ,E :  ชุดดินวังสะพุง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว
                                                        3 2
                  ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ ลึกปานกลาง กร่อนปานกลาง (Wang Saphung - clay loam, 12-20
                  percent slope/ moderately deep, moderately eroded)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37