Page 27 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 27

ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริเปนสวนหนึ่งในหลายๆ ภารกิจดานการพัฒนา
               พื้นที่ดิน ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงไดรับรางวัลนักวิทยาศาสตรดินเพื่อมนุษยธรรม และอีกหลายๆ

               รางวัล  หากไปศึกษาคนควาเรื่องศูนยศึกษาการพัฒนาทั้ง 6 ศูนยใหดีก็จะเห็นวา ทั้ง 6 ศูนยเปนเรื่องของการ
               พัฒนาลุมน้ํายอยๆ ทุกแหง  ใหมีน้ํา มีปาตนน้ํา มีการพัฒนาทรัพยากรดิน และมีการบริหารจัดการ ไมวาจะ
               ปลูกพืช เลี้ยงสัตว และการประมง ทุกศูนยฯ จะเหมือนกัน  เพียงแตสภาพปญหาแตกตางกัน เชน
               ทางภาคเหนือซึ่งมีปญหาปาตนน้ํา  ตองเนนการปลูกปา ที่สกลนครมีสภาพปาเสื่อมโทรม ตองสงวนปา

               เพิ่มแหลงน้ําและแกปญหาดินเค็มบางสวนที่พิกุลทองดินเปนพรุ ตองมีการแยกใหชัดวาตรงไหนที่ตองอนุรักษไว
               หามแตะตอง และตรงไหนที่ตองพัฒนา ตัวอยางที่เห็นชัดเจนคือที่บานยูโย ซึ่งทานอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน
               คนปจจุบัน ไดบรรยายพิเศษในคราวที่แลว ที่หวยทรายคือปาเกาที่เปนเขตราชนิเวศ ตอนหลังก็ถูกบุกรุกปลูก

               สัปปะรด ดินก็ตื้น ดินเสื่อมโทรม ที่คุงกระเบนเปนการพัฒนาชายฝงที่เปนแหลงตนกําเนิดสัตวน้ําจะดูแลรักษา
               อยางไร  ที่เขาหินซอนนี่คือพลิกทะเลทราย จะตองฟนฟูสภาพดินอยางไรใหทําการเกษตรได เปนตน

                      การบริหารศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน  แรกๆ ไมไดใชชื่อวาศูนยศึกษา เปนเพียงโครงการซึ่งดูแล
               โดยกองๆ หนึ่งในสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เนื่องจากเปนการกอตั้งศูนยศึกษาการพัฒนาแหงแรก

               จึงใหนําหนวยงานที่เกี่ยวของมารวมดําเนินงานในพื้นที่ในลักษณะผสมผสาน มี กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริม
               สหกรณ กรมสงเสริมการเกษตร กรมปาไม กรมประมง กรมปศุสัตว กรมชลประทาน กรมพัฒนาชุมชน
               กรมโยธาธิการ  วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ฉะเชิงเทรา และมีหนวยงานนอกศูนยฯ โดยมีกรมพัฒนาที่ดิน
               เปนหนวยงานหลักประสานการทํางานในรูปคณะกรรมการ ขอดี คือ หนวยงานจากหลายกระทรวงไดเขามา

               ปฏิบัติงานรวมกัน กระทรวงเกษตรและสหกรณพัฒนาดานการเพาะปลูก กระทรวงมหาดไทยพัฒนาอาชีพ
               กระทรวงศึกษาธิการ กอตั้งวิทยาลัยเกษตรกรรม  โดยสรางหลักสูตรไมใหเหมือนวิทยาลัยเกษตรทั่วๆ ไป
               แตตองการเนนใหมีการลงมือปฏิบัติจริง  พระองคทานทรงพัฒนาทั้งคนและงาน  พัฒนาตั้งแตขาราชการ โดย

               พยายามฝกใหพวกเราคิดและทํางานรวมกันใหได  มีลําดับขั้นตอนในการทํางาน ไมชิงดีชิงเดน ไมแยงกัน
               ทํางาน  หากทุกหนวยงานทํางานประสานกันได มีความตั้งใจที่จะทํา เขาใจกัน ก็จะขับเคลื่อนงานไดงาย
               ทานไดเนนเรื่องนี้  สําหรับ ขอเสีย นั้นคือธรรมชาติของคน จะตางคนตางอยู  ไมประสานกันและมีการ
               กระทบกระทั่งกัน  ชิงดีชิงเดน แยงกันทําแลวงานก็ลมเหลว  การมีคณะกรรมการหลายคณะเปนลักษณะที่
               เรียกวา “มากหมอมากความ ทํางานไมได” งานไมกาวหนาเนื่องจากปญหาเรื่องคน จะเห็นไดวาศูนยศึกษาการ

               พัฒนาแหงอื่นๆ  ที่ตั้งในภายหลังจะไมมีหนวยงานมากเหมือนที่ ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน

                      พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงเสด็จพระราชดําเนินมาที่ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน
               ในป 2522  2523 และ 2527 หลังจากนั้นก็ไมเสด็จติดตอกันเปนเวลา 13 ป จนกระทั่งป 2540
               ชวงระยะเวลาตั้งแต ป 2527 – 2540 ที่คณะเจาหนาที่ที่บริหารศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนรอที่จะรับ

               เสด็จพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ นั้น ทางคณะกรรมการก็พยายามสรางความรวมมือ  ทบทวนกระแส
               พระราชดํารัส และลงมือปฏิบัติตามใหครบถวน ตามลําดับขั้นตอนที่ทรงแนะนํา 5  เรื่อง ทั้งนี้ มี 4 เรื่องที่
               ปฏิบัติไดครบเกือบสมบูรณ คือ การพัฒนาสภาพแวดลอม ดิน น้ํา ปาไม  การทดลอง วิจัย สาธิต  การสราง
               แหลงศึกษาเรียนรูการพัฒนาและแหลงพักผอนหยอนใจ  การสรางพิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต  จนกระทั่ง

               เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2540  พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินไปทอดพระเนตรสภาพพื้นที่
               ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน อีกครั้ง (ภาพที่ 3) ซึ่งขั้นตอนการพัฒนาพื้นที่เขาหินซอนที่พระบาทสมเด็จ
               พระเจาอยูหัวทรงแนะนําไว มีดังนี้









                    24  องคความรูสูปดินสากล 2558
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32