Page 30 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 30

การบรรยายพิเศษ “องคความรูสูปดินสากล 2558” ครั้งที่ 4

                                        หัวขอ“การบริหารจัดการน้ําในพื้นที่พรุโตะแดง”
                                  วันพฤหัสบดี ที่ 22 มกราคม 2558 เวลา10.00 - 12.00 น.

                                         โดยนายอภิชาต จงสกุล  อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน



















                      การเสวนาทางวิชาการครั้งที่ 4 นี้ ทานอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน นายอภิชาต จงสกุล ใหเกียรติเปนวิทยากร

               บรรยายพิเศษ หัวขอ “การบริหารจัดการน้ําในพื้นที่ พรุโตะแดง” ซึ่งทานอธิบดีไดบรรยายพิเศษไว ดังนี้
                      สืบเนื่องจากการบรรยายพิเศษในครั้งที่ 1 ไดกลาวถึงการเกิดพื้นที่พรุ ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ
               ชายฝงทะเล ทําใหมีการลอมปดพื้นที่บางสวน จนกระทั่งเกิดเปนลากูน และมีวิวัฒนาการจนกลายเปนพื้นที่
               ปาพรุในที่สุด  โดยการบรรยายพิเศษในครั้งที่ 4 ยังคงเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับพื้นที่ปาพรุ แตจะมุงเนน

               ในเรื่องของการบริหารจัดการน้ําในพื้นที่ปาพรุในเชิงการรักษาสิ่งแวดลอม การดูแลทรัพยากรปาพรุโดยได
               นําเสนอการบริหารจัดการน้ําในพื้นที่พรุโตะแดง จังหวัดนราธิวาส มาเปนกรณีศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อ
               อธิบายและเปรียบเทียบปริมาณน้ําผิวดิน-น้ําใตดิน ปริมาณน้ําฝนที่เขา-ออกบริเวณพื้นที่พรุโตะแดง เพื่อใชใน
               การคํานวณความสมดุลน้ําเบื้องตนเปนรายเดือนของพื้นที่พรุโตะแดงและเพื่อเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับนําไปใช

               ประโยชนในโครงการตางๆ ในอนาคต ตลอดจนเขาใจเกี่ยวกับน้ําในพื้นที่พรุโตะแดงปาพรุที่สมบูรณที่สุด
               แหงเดียวในประเทศไทย
                      การศึกษาการบริหารจัดการน้ําในพื้นที่พรุโตะแดงไดดําเนินการขึ้นเมื่อป พ.. 2543-2546 ขอมูล

               การศึกษาดังกลาว ไดนําเสนอในการประชุมวิชาการพิกุลทอง 2 ทศวรรษ อีกทั้งยังไดกราบบังคมทูลถวาย
               รายงานผลการศึกษาแดสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี  เมื่อครั้งเสด็จฯ  ทรงงานที่ศูนย
               ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริดวย  โดยการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ํา
               ในพื้นที่พรุโตะแดงในสมัยกอนยังไมมีรูปแบบการศึกษาที่ชัดเจน การศึกษาในครั้งนี้จึงถือวาเปนกรณีศึกษาที่มี
               ทั้งการศึกษาพื้นที่ การเก็บขอมูลปริมาณน้ําที่เขา-ออกภายในพื้นที่พรุ เพื่อศึกษาถึงปริมาณน้ําสูงสุด-ต่ําสุด

               วาควรอยูปริมาณเทาไหร รวมถึงการบริหารจัดการน้ําในพื้นที่พรุอยางไรไมใหเกิดความแหงแลง หรือเกิดน้ํา
               ทวมขัง โดยการศึกษาขอมูลตางๆและนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห ซึ่งในการวิเคราะหนอกจากจะใชความรู
               ทางดานอุทกวิทยาแลวยังใชความรูทางดานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) เขามาเปนเครื่องมือในการศึกษา

               เรื่องของน้ําในพื้นที่ปาพรุอีกดวย


                                                                   การบริหารจัดการน้ําในพื้นที่พรุโตะแดง  27
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35