Page 31 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 31

ลักษณะทั่วไปของพื้นที่ปาพรุ

                      พื้นที่ปาพรุในจังหวัดนราธิวาสมี

               ประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ ไร แตในปจจุบันพื้นที่
               ปาพรุที่มีความอุดมสมบูรณเหลืออยูเพียง

               ประมาณ ๕๐,๐๐๐ ไร  สวนพื้นที่ที่เหลือ

               เปนปาพรุเสื่อมโทรมโดยจังหวัดนราธิวาส มี
               ปาพรุใหญๆ อยู 2 แหง คือ พรุบาเจาะ อยู

               ทางตอนเหนือของจังหวัดนราธิวาส และพรุ
               โตะแดง อยูทางตอนใตของจังหวัดนราธิวาส

               ซึ่งปาพรุโตะแดงเปนปาพรุที่มีความอุดม

               สมบูรณที่สุดในประเทศไทย ลักษณะพื้นที่
                                                            ภาพที่ 1 พื้นที่ของจังหวัดนราธิวาส และพื้นที่ปาพรุ
               พรุเปนที่ลุมน้ําจืด น้ําในพรุเปนกรดออนๆ


               ซึ่งเปนผลมาจากการสลายตัวของใบไมและซากพืชภายในพรุทําใหเกิดเปนกรดอินทรียที่มีคา pH ประมาณ
               ๔.๕ – ๕.๐ นอกจากนี้ภายในพรุโตะแดงยังมีพืชพรรณและสิ่งมีชีวิตตางๆอีกหลากหลายชนิดที่ควรคาแกการ

               อนุรักษไว สําหรับพื้นที่พรุไดแบงออกเปน 3 เขต ดังนี้

                      ๑. เขตสงวน (Preservation zone) เปนเขตปาพรุที่มีความอุดม
               สมบูรณ


                      ๒. เขตอนุรักษ (Conservation zone) เปนเขตปาพรุที่สามารถ
               ฟนฟูใหมีความสมบูรณได

                      ๓. เขตพัฒนา (Development zone) เปนเขตปาพรุที่มีความ
               เสื่อมโทรม มีการบุกรุกและมีปาเสม็ดขึ้นทดแทนพืชพรรณเดิม ซึ่งเปนพื้นที่

               ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดําริใหศูนยศึกษาการพัฒนา
               พิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริเขาไปดูแลแกไขปญหาและฟนฟูสภาพ

               พื้นที่ใหดีขึ้น เพื่อใหพื้นที่ดังกลาวสามารถนํามาใชประโยชนทางดาน

               เกษตรกรรมไดโดยไดดําเนินการทดลองปลูกขาว พืชผัก และไมผลตางๆ ซึ่ง  ภาพที่ 2 ลักษณะพื้นที่ปาพรุ
               ปรากฏวาไมสามารถใหผลผลิตได เนื่องจากในฤดูฝนมักเกิดอุทกภัยทําใหพืชผลทางการเกษตรถูกน้ําทวมขัง

               สวนในฤดูแลง มักเกิดสภาวะแหงแลงและขาดแคลนน้ําติดตอกันเปนเวลานาน สรางความเสียหายตอผลผลิต

               ทางการเกษตรเปนจํานวนมาก นอกจากนั้นยังไดมีการทดลองปลูกปาลมน้ํามัน โดยเมื่อปาลมน้ํามันอายุ ๓ ป
               ไดเริ่มใหผลผลิตแตคอนขางต่ําเนื่องจากสภาพพื้นที่มีความอุดมสมบูรณต่ํามากอีกทั้งคาใชจายในการดูแล

               คอนขางสูงทําใหไมคุมทุนกับผลผลิตที่ได จึงไดมีการปลอยใหปาเสม็ดขึ้นในพื้นที่ปาพรุเสื่อมโทรมแทน จากนั้น
               จึงศึกษาการใชประโยชนจากปาเสม็ด โดยการจัดสรรพื้นที่ดังกลาวเปนสหกรณนิคม เชน สหกรณนิคมบาเจาะ

               สหกรณนิคมป2เหล็ง2 จากปญหาดังกลาวจึงนํามาสูการบริหารจัดการน้ําในพื้นที่พรุโตะแดงเพื่อรักษาพื้นที่ปาพรุ
               ที่สมบูรณที่สุดในประเทศไทยเอาไวตอไปในอนาคต






                    28  องคความรูสูปดินสากล 2558
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36