Page 23 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 23

ภาพที่ 1 สภาพพื้นที่กอนดําเนินการ พ.ศ.๒๕๒๒

                      ทานไดอธิบายเกี่ยวกับพื้นที่ดินดวยวา กอนหนาที่จะไดทํางานที่ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน

                ไดเคยเห็นภาพของพื้นที่เนื่องจากเคยไดรวมทําวิทยานิพนธที่บางปะกง(ที่เปน สถานีพัฒนาที่ดิน
                ฉะเชิงเทราในปจจุบัน) กับ คุณชูเกียรติ ลิ่มอรุณ  คุณโสภณ จันทรเจริญสุข และคุณสุวิทย สระทองคํา
                ในสมัยกอนบริเวณพื้นที่เขาหินซอนมีดินและพื้นที่ปาอุดมสมบูรณ ตอมาผืนดินเสื่อมโทรมลง ไมสามารถ
                ทําการเกษตรได ดินขาดความอุดมสมบูรณ เนื้อดินเปนทราย มีการชะลางพังทลายของดินสูง มีการปลูก

                มันสําปะหลังติดตอกันเปนเวลานานโดยไมมีการปรับปรุงบํารุงดิน ผลผลิตที่ไดต่ําลงมาก  มีการตัดทําลาย
                ปาแลวปลูกพืชไร เชน ขาวโพด และ มันสําปะหลัง เปนตน ทําใหดินจืดและกลายเปนดินทราย มีแรธาตุ
                นอย ในฤดูแลงมีการชะลางเนื่องจากลมพัด(wind  erosion) ในฤดูฝนมีการชะลางเนื่องจากน้ําเซาะ
                (water  erosion) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดําริใหฟนฟูดินเสื่อมโทรม  ถาหากไมชวยกัน

                ลงทายประเทศไทยทั้งประเทศจะกลายเปนทะเลทรายหมด  เจาหนาที่ก็เขาใจและพยายามหาวิธีที่จะฟนฟูดิน
                ใหเปนดินที่ใชประโยชนได

                      เมื่อเริ่มตั้งศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน สิ่งแรกที่พวกเราเห็นคือ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

               ทรงถือแผนที่  ทานทรงวางแผนวาตรงไหนจะสรางแหลงน้ําได  ตรงไหนเปนทางน้ําที่จะสรางความชุมชื้น
               เพราะหัวใจของการทําการเกษตรคือตองมีน้ํา ที่เขาหินซอนก็เชนกัน ทานทรงแนะนําเรื่องน้ําเปนเรื่องแรก
               เนนหนักในเรื่องชลประทาน วาจะสรางแหลงน้ําที่ใด หลังจากนั้นจึงปรับปรุงดินโดยหวานพืชบํารุงดิน

               พืชตระกูลถั่ว ทั้งกรมวิชาการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน ตางก็ชวยกันปลูกใน 4 – 5 ปแรก เพราะตนไมดั้งเดิม
               คอนขางเหลือนอย ตนไมไมคอยขึ้น ก็ปลอยใหลูกไมขึ้นพรอมทั้งปลูกแซมในที่โลง ทําใหเราไดขอคิดวาการที่จะ
               ทําอะไรไมใชวาเริ่มไดเลย เราตองนับถอยหลัง โดยที่เขาหินซอนนั้น กอนอื่นเลยใหรีบดําเนินการเรื่องแหลงน้ํา
               เสียกอน  ดีที่สุดสําหรับแหลงน้ําคือปาไม  จึงเริ่มมีการปลูกไมนํา ไมโตเร็ว พวกกระถินยักษ  กระถินณรงค
               ไมใชสอยก็เริ่มโตขึ้นมา พืชพันธุไมดั้งเดิมก็เติบโตไดดี









                    20  องคความรูสูปดินสากล 2558
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28