Page 26 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 26

ประการแรก คือ ตองศึกษาขอมูลอยางเปนระบบ วิเคราะหหาตนเหตุของปญหา พระบาทสมเด็จ
               พระเจาอยูหัวทรงมองปญหาในภาพรวม(Macro) กอนเสมอ แตการแกปญหาจะเริ่มจากจุดเล็กๆ (Micro) คือ

               การแกไขปญหาเฉพาะหนา ที่คนมักจะมองขาม ดังพระราชดํารัสความตอนหนึ่งวา “...ถาปวดหัวก็คิดอะไรไมออก
               อยางนั้นตองแกไขการปวดหัวนี้กอน มันไมไดเปนการแกอาการจริง แตตองแกปวดหัวกอน  เพื่อที่จะใหอยูใน
               สภาพที่คิดได  แบบ(Macro) นี้เขาจะทําแบบรื้อทั้งหมด  ฉันไมเห็นดวย..อยางบานคนอยูเราบอก  บานนี้มันผุ
               ตรงนั้น ผุตรงนี้ ไมคุมที่จะไปซอมเอาตกลงรื้อบานนี้ระเบิดเลย เราจะไปอยูที่ไหน ไมมีที่อยู...วิธีทํา ตองคอยๆ

               ทํา จะไประเบิดหมดไมได ”
                      ประการที่สอง คือ สรางความเขาใจ โดยเราตองทําเปนขั้นตอน  ทรงตรัสวา“ตองระเบิดจากขางใน”
               หมายความวา ตองทําใหคนที่เราเขาไปพัฒนามีสภาพพรอมที่จะรับการพัฒนา มิใชการนําเอาบุคคลจากสังคม

               ภายนอกเขาไปหาชุมชนหมูบานที่ยังไมทันไดมีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว การพัฒนาใดๆ  ตองคํานึงถึงสภาพ
               ภูมิประเทศ ลักษณะนิสัยใจคอของคน ตองสรางความเขาใจ เขาถึง จึงจะเกิดการพัฒนา ทําอยางไรจึงจะทําให
               เขาเขาใจวาสิ่งที่เราเสนอให เปนสิ่งที่เหมาะสมและสามารถนําไปปฏิบัติได  นี่คือความแตกตางระหวาง
               Teaching กับ Coaching ตองเอาคนเปนศูนยกลาง
                      ประการที่สาม คือ การพึ่งพาตนเอง จะเห็นไดวาในระยะหลังเรามีปจจัยการผลิตโดยไดแจกจายปจจัย

               ตางๆ ไป  โดยไมคํานึงถึงความสอดคลองกับสิ่งที่เขาจะนําไปใช นําไปปฏิบัติได  นอยคนที่ไดรับแจกปจจัยการ
               ผลิตไปแลวนําไปใช บางครั้งมีจํานวนไมพอที่จะใชสําหรับทํางานจริง  ฝายขาราชการเองก็ไมไดลงมือทํางานจริงจัง
               เพราะมัวแตเสียเวลาไปแจกจายของ  จึงฝากขอคิดไวดวยวา เบื้องตนควรแกไขปญหาเฉพาะหนา  เพื่อให

               ประชาชนมีความแข็งแรงพอที่จะดํารงชีวิตไดตอไป  แลวขั้นตอไปก็คือการพัฒนาใหสามารถ “พึ่งตนเองได”
               ในที่สุด
                      ประการที่สี่ คือ การแลกเปลี่ยนความรูและการถายทอดเทคโนโลยี   เมื่อรู เขาใจ ก็จะคอยๆ เพิ่มการ
               พึ่งพาตนเองได ศูนยศึกษาการพัฒนาทุกศูนยเปนแหลงที่รวบรวมกําลังเจาหนาที่จากทุกกรม  กอง  ทั้งในดาน

               เกษตรหรือดานสังคม มีตนทาง คือ ผูเปนเจาหนาที่จะใหประโยชน และปลายทาง คือ  ประชาชนจะไดรับ
               ประโยชน
                       ประการที่หา คือ ความบริบูรณขององคความรู ใหเขาสามารถขับเคลื่อนตนเองไปได สิ่งนี้ตองเกิดจาก
               ความเพียร ใหดูตัวอยางจากพระราชนิพนธ เรื่อง  “พระมหาชนก” กษัตริยผูเพียรพยายามแมจะไมเห็นฝง

               ก็ยังวายน้ําตอไป  พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงริเริ่มทําโครงการตางๆ  ที่ระยะแรกไมมีความพรอม
               ในการทํางาน แตพระองคก็มิไดทอพระราชหฤทัย มุงมั่นพัฒนาบานเมืองใหเจริญรุงเรืองตอไป

                      ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

                      การริเริ่มโครงการจัดตั้งศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน เปนชวงระยะเวลาเดียวกับที่กรมพัฒนาที่ดิน
               เริ่มตนในการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอน เปนศูนยศึกษาการพัฒนาแหงแรก
               กอนที่จะมีศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ  แหงอื่นๆ ตามมา รวมทั้งสิ้นมี 6 แหงในปจจุบัน

               คือ   ศูนยศึกษาการพัฒนาเขาหินซอนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิงเทรา  ศูนยศึกษาการพัฒนา
               พิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.นราธิวาส ศูนยศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
               จ.สกลนคร  ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.เชียงใหม ศูนยศึกษาการพัฒนา
               หวยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.เพชรบุรี และศูนยศึกษาการพัฒนาอาวคุงกระเบนอันเนื่องมาจาก
               พระราชดําริ จ.จันทบุรี







                                                                                  เรื่องเลาเขาหินซอน  23
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31